Page 205 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 205

181
ระวัง ต้องคิดให้ดี
เห็นไหม แค่เราระวังกายกับวาจานี่ต้องคิดให้ดีด้วย เพราะอะไร ?
กายกับวาจาอาศัยความคิด อาศัยจิตเป็นผู้สั่งให้ทา อาศัยพลังของจิตเรา ถ้า จิตเรามีพลังฝ่ายไหนมาก อาการทางกายทางวาจา ก็อาศัยพลังตรงนั้นเป็น ตัวขับเคลื่อนให้เกิดขึ้น และจะเป็นไปในลักษณะอย่างไร เพราะฉะนั้น การ รู้จักสารวมกายวาจา อันนี้ก็เป็นสิ่งสาคัญ สารวมกาย วาจา ใจ ต้องเป็นไป ด้วยกัน สังเกตไหมว่า เวลาเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบัน รู้อาการเกิดดับของรูป นาม ไม่ว่าจะเป็นขณะนั่ง ขณะเดิน ขณะทาอะไรในอิริยาบถย่อยก็ตาม ยิ่ง จิตเรามีความสงบ ความระมัดระวังของเราก็มีมาก
เรายิ่งมีความสงบ มีสติปุ๊บ การขยับแต่ละครั้ง การขยับมือ ขยับตัว แต่ละขณะ จะ “รู้สึก” ก่อน เราจะรู้สึกถึงอาการเคลื่อนไหวของเราได้เร็ว ว่า อะไรจะเกิดขึ้น สังเกต เวลาเรามีสติ มีต้นจิต พอเราก้าวเท้าไป พอจะเหยียบ สัตว์นี่ มันจะหยุดกลางคันได้ ลงแล้ว แต่สามารถหยุดได้ ถ้าสติไม่ดี ลงก็ คือลงนั่นแหละ พอน้าหนักทิ้งลงแล้วหยุดไม่ได้ แต่นี่จะรู้สึกวึ๊บ ก้าวไป อ๊ะ! “หยุด” รู้สึก.. หยุดได้ทัน! นั่นแสดงว่าสติเราไวขึ้น มีสติไปในกายของเรา เราก็จะรู้ชัด
ยิ่งให้ดีก็คือ การรู้ “ต้นจิต” ตัวเอง การที่เรากาหนดรู้ต้นจิต รู้ก่อน ทา รู้ก่อนคิด รู้ก่อนจะพูด รู้ก่อนจะขยับ อันนี้เป็นสิ่งสาคัญมาก ๆ สาหรับ นักปฏิบัติ ที่บอก เรามีสติไปในกายตรงนี้อย่างหนึ่งคือ รู้อาการเคลื่อนไหว ของกายเรา แล้วก็รู้ก่อนที่จะเคลื่อนไหว ก่อนที่จะขยับ และรู้ก่อนที่จะพูด ออกมา แต่ละคาพูด แต่ละคาพูด ที่จะออกจากปากของเรา ดูว่าก่อนที่จะ พูดรู้สึกยังไง ? ถ้าเรามีต้นจิตตรงนั้น ก่อนที่เราจะพูด ก่อนที่เราจะขยับ เห็นไหมว่า อาการขยับที่จะเกิดขึ้น เกิดขึ้นด้วยเจตนาอะไร ? คาพูดที่จะออก ไป เพื่อประโยชน์อะไร ? ตรงนี้สังเกตบ่อย ๆ ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น
เพราะฉะนั้น เวลาให้ดูต้นจิต ไม่ใช่แค่ รู้ได้ไม่ได้ ดูทันไม่ทัน กาหนด


































































































   203   204   205   206   207