Page 214 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 214

190
อย่าง” ทั้งใจ ทั้งกาย ทั้งวาจา หรือกายวาจาใจก็เป็นไปด้วย เพราะใจเป็น ผู้สั่ง อันนั้น เขาเรียก “มโนกรรม” กรรมย่อมส่งผล มโนกรรมก็ส่งผลแล้ว เพราะฉะนั้น วจีกรรมยิ่งหนักเข้าไปใหญ่ วจีกรรมกายกรรมร่วมไปอีก ก็หนักมากขึ้น เพราะฉะนั้น การสารวม การไม่ทาบาปทั้งปวง คือไม่ทาทาง กาย วาจา ใจ เราจะได้ระวังง่ายขึ้น ระวังใจตัวเอง ระวังคาพูดของตัวเอง ระวังการกระทาของตัวเอง แค่ “ระวัง!”
นอกจากนั้นก็คือ ให้ทาความดีให้เพิ่มขึ้น เขาเรียก “กุสลัสสูปสัมปทา” ทากุศลให้ถึงพร้อม คือทาความดี กุศลมีกี่อย่าง ? กุศล ๑๐ อย่าง ย่อลง มาก็ ๓ อย่าง ทาน ศีล ภาวนา แล้วย่อลงมาก็คือ กาย วาจา ใจ มีอยู่นิด เดียว ก็คือเรื่องของเราทั้งนั้นเลย เราดูแลที่ตัวเราง่าย ๆ ทากุศลให้ถึง พร้อม ทาใจของเราให้ดี คิดแต่เรื่องดี เวลาจะพูดทีก็ต้องหาคาพูดดี ๆ เวลา จะทาอะไรก็คิดจะทาสิ่งดี ๆ สิ่งดีเหล่านี้ที่เราทาไปเพื่ออะไร ? เพื่อตัวเราเอง ทั้งสิ้น ถ้าเรารักตัวเราเอง แล้วเราทาตามคาสอนของพระพุทธเจ้า เราก็จะเป็น คนรักตัวเองอย่างถูกต้อง และไม่นามาซึ่งความทุกข์ในภายภาคหน้า
แล้วการทาใจของเราให้ผ่องใส ทาใจของเราให้ผ่องใสได้อย่างไร ? ถ้าเราทาทางกายวาจาใจเราดีแล้ว คิดถึงความดีตัวเองเมื่อไหร่ ใจก็ใสเมื่อนั้น ยิ่งเรามาเจริญภาวนาถ้ามีเวลา การเจริญภาวนาที่ง่ายที่สุดก็คือ การมีสติ รู้จิตตัวเอง พิจารณาดูจิตตัวเองอยู่เนือง ๆ ว่าจิตใจเราเป็นอย่างไร คิดอะไร ใจเราคิดถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดี คิดแล้วเบียดเบียนตนเองหรือเบียดเบียนผู้อื่น คิดแล้วทาให้เราเป็นทุกข์หรือผู้อื่นเป็นทุกข์ หรือคิดแล้วดีทั้งสองฝ่าย ทา แล้วคนอื่นก็สบายใจ เราก็สบายใจ เป็นผลดี นี่แหละสิ่งที่เราต้องพิจารณา
ถ้าเรารักตัวเองแบบนี้ ชีวิตเราจะมีแต่ความสุข ไม่มีการขาด ยิ่งเรา ทาความดี พิจารณาถึงความดีที่เราเคยทาบ่อย ๆ คนนั้นจะไม่พร่อง ไม่แห้ง แล้ง ไม่ห่อเหี่ยว มีแต่ความอิ่มใจ เบิกบานใจ จิตใจจะมั่นคง ตั้งมั่น ไม่ หวั่นไหวกับอะไรต่าง ๆ ที่เข้ามา เพราะว่ามีความดีเป็นที่พึ่ง หรือเรียกง่าย ๆ


































































































   212   213   214   215   216