Page 308 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 308

284
“ ว ธิ แี ก ค้ ว า ม ง ว่ ง ” พ อ เ ร มิ ่ ง ว่ ง ใ ห เ้ ป ล ยี ่ น อ ริ ยิ า บ ถ ใ ห ล้ กุ เ ป ล ยี ่ น อ ริ ยิ า บ ถ เสีย เปลี่ยนอิริยาบถแล้วยังง่วงอยู่ ไม่ไหว ล้างหน้า ล้างหน้าแล้วยังง่วงอยู่ ไม่ไหวจริง ๆ ไปนอนซะ สักตื่นหนึ่ง ตื่นขึ้นมาแล้วค่อยปฏิบัติต่อ ขณะที่เรา นั่งหลับกับไปนอนหลับ ไม่ต่างกันเลย แต่ถ้านอนหลับ ตื่นขึ้นมาสดชื่น ถ้า นั่งหลับ พอลืมตาขึ้นมา งัวเงีย ที่พูดนี่คือถ้าไม่ไหวจริง ๆ แต่ถ้าความง่วง นั้นเกิดจากสมาธิมาก วิธีคือ “ให้รู้ชัดในอารมณ์” มีอารมณ์หลักชัดเจนเมื่อ ไหร่ ความง่วงก็จะหายไป
เมื่อตอนกลางวันบอกวิธีแก้ความง่วง ตอนนี้ก็ยังง่วงอยู่ ใช่ไหม ? ปกติสังเกตไหม เวลาความง่วงมา เขามายังไง ? ความง่วงจะมาตอนจิตเรา ไม่มีอารมณ์หลัก ตอนที่เรารู้สึกว่าง ๆ บางครั้งความคิดเป็นผู้พาความง่วง เข้ามา ใช่ไหม ? พอเริ่มว่างแล้ว ก็เริ่มมีความคิดบาง ๆ เราก็เพลิดเพลิน กับความคิด แป๊บเดียว วูบ! วูบหายไป... รู้สึกตัวอีกที หายไปไหนเมื่อกี้ ? เหมือนตกจากที่สูง เหมือนตกภวังค์ ใช้คาว่า “ตกภวังค์” ได้ไหม ? ได้ ก็ คือหลับไป บางทีหลับไปวูบหนึ่ง รู้สึกขึ้นมา สดชื่น ตาใสเชียว อันนั้นเขา เรียกหลับไปตื่นหนึ่งแล้ว เป็นสภาวะที่เกิดขึ้นเวลานั่งปฏิบัติ ไม่ว่าใครก็ตาม เหตุการณ์พวกนี้เกิดขึ้นเป็นเรื่องธรรมดา
วิธีแก้ ที่บอกว่า “ให้ทาจิตให้ว่าง” ทาได้ใช่ไหม ? ลองอีกที เอาจิต ออกมาข้างนอก ในที่ว่าง ๆ พอจิตเราว่างปุ๊บ จิตรู้สึกเป็นยังไง ? สลัวหรือ ใส ? ตื่นตัวหรือว่าเบลอ ? ตื่นตัว ใช่ไหม ? เก่งนะ! ลองเอาจิตที่ว่าง ๆ มา ไว้ที่หน้าดูสิ รู้สึกเป็นยังไง ? ตาเรารู้สึกเป็นไง ? สว่างขึ้น! เพราะเวลาเราง่วง มนั เรมิ่ สลวั แลว้ เรมิ่ มดื เรมิ่ มดื ... ถา้ มดื ตา่ กวา่ เปลอื กตาเมอื่ ไหร่ รบั รองหลบั ! สังเกตดูดี ๆ เวลาเรานั่งปฏิบัติ อย่าสักแต่ว่ารู้ ต้องรู้ว่ามันเกิดอะไรขึ้น แล้วผลที่ตามมาเป็นยังไง ไม่ใช่ไปหาแต่อาการอื่น พอความง่วงเข้ามาไม่ สนใจ ไปรแู้ ตอ่ าการอนื่ อยา่ งเดยี ว รพู้ องยบุ อยา่ งเดยี ว ดลู มหายใจอยา่ งเดยี ว ความง่วงไม่ใช่สภาวะ ไม่ใช่สิ่งที่เราต้องกาหนดรู้ นั่นเข้าใจผิด!


































































































   306   307   308   309   310