Page 312 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 312

288
ถงึ อยา่ งไรจติ กต็ อ้ งมอี ารมณท์ รี่ บั รู้ เหมอื นกบั เราดกู ระดานไวทบ์ อรด์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าเรานิ่ง ๆ มองที่ไวท์บอร์ด เราจะสังเกตเห็นว่า การมองของเราชัดเจนเท่ากันตลอด หรือว่าเดี๋ยวชัดเดี๋ยวไม่ชัด เดี๋ยวชัดเดี๋ยว จาง... ในตาแหน่งเดิมนะ ? ตรงนี้คือลักษณะของการรับรู้ของจิตเรา ที่เกิด ขึ้นมาแล้วก็เปลี่ยนแปลง ก็จะเห็นการเปลี่ยนแปลงเรื่อย ๆ พอเรายิ่งนิ่งมาก ขึ้น สมาธิมีกาลังมากขึ้น สติมีกาลังมากขึ้น อาการเกิดดับการเปลี่ยนแปลงก็ จะค่อย ๆ ชัดขึ้น แต่ละเอียดกว่าพองยุบ
และยังมีละเอียดกว่านี้ ยังมี “ความว่าง” ที่ว่าง “ต่างจากนี้” ว่างแล้ว เหมือนไม่มีอะไร แต่ก็ยังมี “จิต” ที่ทาหน้าที่รู้ว่าว่าง เขาเรียก “วิญญาณรู้” หรือ “ธาตุรู้” หรือ “ใจรู้” แล้วแต่ว่าจะเรียกอย่างไร จิตที่ทาหน้าที่รู้ก็ “ไม่ เที่ยง” แล้วเราจะทายังไง ? เราก็มา “ดูจิต” ดวงนี้ว่า เขารู้ว่าว่าง แล้วเขา “ดับ” ไปไหม ? เกิดมารู้ แล้วดับหรือเปล่า ? เราต้องสังเกตตัวนี้ ถ้าไม่เห็น อาการเกิดดับของจิตที่ทาหน้าที่รู้ ก็จะทาให้เราเข้าไป “ยึด” ว่าเราเป็นผู้รู้ จิต กลายเป็นจิตดวงเดียวที่ทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ทุก ๆ อารมณ์ เมื่อเป็นอย่างนั้น ผิดตรงไหน ในเมื่อจิตก็ว่าง แล้วก็มีแต่ตัวรู้อย่างเดียว ?
ถ้าเข้าไปยึดว่าจิตนั้นเป็นของเราเมื่อไหร่ ก็จะผิด! พระพุทธเจ้าบอก ว่า หนึ่งลัดนิ้วมือเดียวจิตเกิดแสนโกฏิดวง และจิตจะ “เกิดขึ้น” ต่อเมื่อ “มี อารมณใ์ หร้ บั ร”ู้ รบั รแู้ ลว้ กด็ บั ไป รแู้ ลว้ กด็ บั ไป... แลว้ กเ็ กดิ ใหม่ เมอื่ มอี ารมณ์ ใหม่ขึ้นมา เขาก็เกิดมารับรู้ แล้วก็ดับไป เขาเรียกเป็น “อนันตรปัจจัย” เกิด ต่อเนื่องไม่ขาดสาย รู้แล้วดับไป จิตดวงนี้ดับไป จิตดวงใหม่ก็เกิดขึ้นมา เกิด ดับต่อเนื่องไม่ขาดสาย แต่ถ้าเราสังเกตดี ๆ เราจะเห็นว่า จิตดวงนี้ดับไป จิต ดวงใหม่ที่เกิดขึ้นมา “ต่าง” จากดวงนี้อย่างไร ? ตรงนี้แหละเราจะได้เห็น “จิตประภัสสร” ว่าเป็นยังไง เพราะฉะนั้น การกาหนดรู้อาการเกิดดับของรูป นามจึงเป็นสิ่งสาคัญ ฝึกให้เกิดความเคยชิน และต้องมีเจตนาที่ชัดเจน


































































































   310   311   312   313   314