Page 317 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 317

293
หนึ่งที่เรานักปฏิบัติควรจะรู้ หรือควรจะพิจารณาควบคู่กันไป และพิจารณา ให้เยอะ จะได้ไม่ต้องตั้งคาถามว่า ดิฉันปฏิบัติแล้วได้อะไร ? เราต้องบอก ตัวเองได้ว่าเราปฏิบัติแล้วได้อะไร
วิธีการพิจารณา อย่างวันแรกที่บอกว่า การเอาความรู้สึกว่าเป็นเรา ออก ดับตัวตน ดับความรู้สึกว่าเป็นเรา อันนี้เป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งว่า การ ที่เรากาหนดรู้อารมณ์ต่าง ๆ อย่างไม่มีตัวตน หรือกาหนดรู้ด้วยจิตที่ว่าง ให้ ความรู้สึก “ดี” อย่างไร ? อันนี้เราต้องบอกตัวเองได้ว่าดีอย่างไร อันนี้อย่าง หนึ่งนะ วิธีการพิจารณาที่จะบอกตัวเองได้ว่ามีตัวตนหรือไม่มีตัวตนนั้น จุดที่ต้องสังเกต หนึ่ง “อาการที่เกิดขึ้น” ยกตัวอย่าง ขณะที่เรากาหนดอาการ พองยุบ อาการพองยุบที่กาลังเป็นไปอยู่นั้นกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เป็นส่วน เดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? ขณะที่เรานั่ง ตัวที่นั่งอยู่กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เป็น ส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? ให้สังเกตแบบนี้
ลองพิจารณาตาม การที่เราปฏิบัติตามแบบนี้เขาเรียก “ไล่สภาวะ ตาม” ปฏิบัติตามดูว่า ถ้ากาหนดรู้อย่างนี้แล้ว จิตใจเราเป็นอย่างไร ? เริ่ม จากสังเกตดูว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้กับตัวที่นั่งอยู่ขณะนี้ เป็นส่วนเดียวกันหรือ คนละส่วนกัน ? พอสังเกตแล้ว ลองดูว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้กับแขน เป็นส่วน เดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? คนละส่วนนะ ทุกครั้งที่เห็นเป็นคนละส่วน จิต เรารู้สึกเป็นไง ? ว่างนะ ตรงนี้คือเป็น “ตัวรับรอง” ตัวเอง คือเมื่อเห็นอย่าง นี้แล้วจิตเป็นอย่างไร ไม่ใช่เห็นอย่างนี้แล้วคิดว่าอย่างไร คนละอย่างกันนะ! เห็นอย่างนี้แล้วคิดว่าอย่างไรกับเห็นอย่างนี้แล้วรู้สึกอย่างไร คนละอย่างกัน! ตรงนี้คือผลที่เกิดขึ้นทันที
ลองสังเกตต่อ ขณะที่เรานึกถึงใบหน้าของเรา จิตที่ทาหน้าที่รู้กับ หน้าเรา เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? คนละส่วนนะ จุดหนึ่งที่ต้อง เป็นตัวรับรอง ลองสังเกตดูนะ ขณะที่เห็นเป็นคนละส่วน บริเวณหน้ารู้สึก ยังไง ? หนักหรือเบา ? ใจรู้รู้สึกหนักหรือเบา ? เบา ๆ ใช่ไหม ? “ใจรู้ที่


































































































   315   316   317   318   319