Page 326 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 326

302
ที่เราต้องกาหนดรู้ว่าว่างแบบไหน พองยุบหายไป ไม่มีอะไรเลย มีแต่ “ใจรู้” อย่างเดียว ไม่มีอะไรเลยแต่ยังมี “ใจรู้” อยู่ อันนี้คือสภาวะจริง ๆ นะ เพราะ ฉะนั้น ต้องสังเกตให้ดี เราคิดว่าว่างจากอารมณ์ ว่างจากความทุกข์ แล้วจิต เราจะว่างจากการรับรู้ จิตจะว่างจากการรับรู้ ต่อเมื่ออยู่ในภวังค์ คือหลับ! ตื่นเมื่อไหร่ก็จะรู้ทันที รู้สึกตัว ขยับปุ๊บ จิตก็จะรับรู้ทันที นั่นล่ะลักษณะของ จิต
อย่างที่บอกว่า เพื่อไม่ให้ติดในรสชาติ อันนั้นอีกอย่างหนึ่ง รสชาติที่ เกิดขึ้น รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง ไม่ให้ยึด ติดในรส เวลาได้รสที่ไม่ถูกใจก็ชักขุ่น ใจเราขุ่น! ไม่ใช่อาหารไม่ถูกกายนะ รสชาติไม่ถูกใจ คนละอย่างกันนะ! รสชาติไม่ถูกใจกับอาหารไม่ถูกกับ ร่างกายนี่ คนละอย่าง! ต้องสังเกตดี ๆ เราจะเอาถูกใจหรือเหมาะกับร่างกาย ของเรา ? พอรสชาติไม่ถูกใจ ใจเราก็ขุ่น ใจที่ขุ่นเกิดจากอะไร ? ความไม่ พอใจ ความไม่พอใจคือตัวปฏิฆะ ปฏิฆะคืออะไร ? คือตัวกิเลส กิเลสเกิด ขึ้นมา ฉันไม่ชอบ!
ฉะนั้น วิธีพิจารณา “ทาอย่างไรถึงจะผ่านความไม่ชอบนี้ไปได้ ?” “ทาอย่างไรถึงจะละความไม่ชอบ ?” อย่างที่บอกแล้ว เราก็มีสติกาหนดรู้ ไม่ ชอบหนอ ไม่ชอบหนอ... หรือว่าเอาความรู้สึกว่าเป็นเราออกเสีย ทาให้ว่าง ให้อาการที่มันเปรี้ยว ๆ จืด ๆ ให้มันอยู่ในที่ว่าง ๆ ลองดู เมื่อเช้าลองดูแล้ว ใช่ไหม ? เมื่อเช้ามีโยมเขาลองเอาความรู้สึกที่ว่าง ๆ มาไว้ในปากให้ถึงคอ แล้วลองดูว่าขณะที่เรากลืนน้าลายนี่ น้าลายลงไปที่ไหน ? ลงไปในที่ว่าง ๆ แล้วเวลาเราเคี้ยวอาหารก็เหมือนกัน เวลาเราเคี้ยว เคี้ยวอยู่ในที่ว่าง ๆ แล้ว ให้อาหารลงไปในที่ว่าง ๆ ลองดูว่า รู้สึกยังไง ?
ลองดูนะ พรุ่งนี้ต้องทา วันนี้ไม่ได้แล้ว เลยเวลา แต่ก็ยังมีน้าปานะ น้าเปล่า เวลาเรากลืน เอาจิตที่ว่าง ๆ มาไว้ที่ปากที่คอ แล้วลองดูว่า มันไหล ลงไปในที่ว่าง ๆ หรือเปล่า ? ไหลลงไปแล้วหายยังไง ? ค่อย ๆ จาง ค่อย ๆ


































































































   324   325   326   327   328