Page 333 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 333

309
ไปปฏิบัติดูแล้วเป็นยังไง แต่จุดสาคัญที่ต้องทา เราก็ต้องทา! อย่างเมื่อเช้า ส่งอารมณ์แล้วอาจารย์ให้ทาอะไร จาได้ไหม ? ได้นะ ให้เติมตัวไหน ? อาจารย์ จาได้นะว่าอาจารย์บอกให้โยมเติมอะไร บางคนอาจารย์ก็ให้สังเกตว่าจิตดับ ด้วยไหม บางคนก็บอกให้เติมความตื่นตัว บางคนก็บอกให้เพิ่มความนิ่งนะ นิ่งแล้วดูอาการ ไม่ใช่นิ่งเฉย การที่เพิ่มความนิ่งเพื่อเพิ่มสมาธิให้จิตเรามี กาลังมากขึ้น บางคนก็ให้สังเกตว่าในความว่างมีอะไร เปลี่ยนไปยังไง ถ้าเจอ หน้าอาจารย์ก็จะนึกออก จะจาได้ว่าคนนี้ให้ทาอะไร
ที่อาจารย์ให้เราเล่าเยอะ ๆ จะได้เล่าสภาวะเป็น สามสี่วันที่ผ่านมา ถือว่าการปฏิบัติของแต่ละคนนี่ทาได้ดี รู้สึกจะพัฒนาขึ้น เพราะฉะนั้น วัน นี้ที่พูดสองอย่างสาคัญให้เรานาไปพิจารณาว่า เวลากาหนดรู้อาการต่าง ๆ รู้ อย่างมีตัวตนหรือไม่มีตัวตน ? การที่จะรู้ชัด ให้พยายามสังเกตทุกครั้งว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้กับอาการ เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? อันนี้ ต้องมี “เจตนา” ที่จะรู้ที่จะดูนะ ไม่ใช่แค่ อ้อ! เคยเห็นแล้ว แล้วก็ผ่านไป...
การที่เคยเห็นแล้วกับการเห็นใหม่ สภาพจิตจะเปลี่ยนไป จะ “แตก ต่าง” กัน เพราะฉะนั้น การหมั่นพิจารณารู้ถึงความไม่มีตัวตนบ่อย ๆ เราจะ รู้ชัดว่าเมื่อมีอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งปรากฏขึ้นมา ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ตัวของเรา หรือเกิดขึ้นที่ใจของเรา เราจะได้รู้ว่าอารมณ์เหล่านั้นเกิดจากจิตเราปรุงแต่ง เกิดจากอกุศลจิตของเรา หรือเกิดจากอารมณ์ภายนอกที่เข้ามากระทบ แล้ว มีกาลังทาให้เวทนาเหล่านั้นเกิดขึ้น อันนี้คืออย่างหนึ่ง
อีกอย่างหนึ่งก็คือ การกาหนดอิริยาบถย่อย “ต้นจิต” กับ “อิริยาบถ ย่อย” นี่ควรจะนาไปใช้ให้ต่อเนื่องในอิริยาบถของเรา ตอนนี้เริ่มฝึก เราอาจ จะสงั เกตการหยบิ ชอ้ นกอ่ น หยบิ แตล่ ะครงั้ ตกั อาหารแตล่ ะครงั้ เขาดบั ยงั ไง ? เคี้ยวแต่ละคา แต่ละคา เขาดับยังไง ? เวลาเอามือไปหยิบแก้วน้า กระทบ ถูกปุ๊บ มีอาการยังไง ? ดับยังไง ? หรือถ้าใครจะดูละเอียดกว่านั้นได้ ก็จะถือ ว่าดีมาก ๆ สองอย่างที่พูดมาในวันนี้ บอกให้พิจารณารู้ถึงความไม่มีตัวตน


































































































   331   332   333   334   335