Page 335 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 335

311
ปฏิบัติอย่างไร ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ถึงเวลา แต่เรามองการณ์ไกลไปถึงอนาคตแล้ว! ที่จริง การที่ถามว่ากลับบ้านแล้วจะทาอย่างไร เพราะเรารู้สึกว่า สถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่ที่เอื้ออานวยต่อการปฏิบัติ เป็นสถานที่ที่สัปปายะ เหมาะแกก่ ารปฏบิ ตั ิ แลว้ เราสามารถทาไดโ้ ดยทไี่ มต่ อ้ งกงั วลสงิ่ รอบขา้ ง แนใ่ จ ไดย้ งั ไงวา่ เราไมก่ งั วลกบั สงิ่ รอบขา้ ง ? เราอยดู่ ว้ ยความเคารพซงึ่ กนั และกนั ให้ เกยี รตกิ นั เพราะฉะนนั้ เราจงึ มกี ารสา รวมกาย สา รวมวาจา สา รวมการพดู การ เคลื่อนไหวของเรา... จะพูดทีก็ต้องสารวม เสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้รบกวน คนอื่น จะขยับทีก็ค่อย ๆ ขยับอย่างมีสติ เพื่อไม่ให้ดูวุ่นวาย ไปรบกวน สายตาคนอื่น เวลากลับบ้านไป เราจะทาได้หรือเปล่า ? เพราะกลับบ้านไป
แล้ว ต้องทาอะไรอย่างรวดเร็ว ทาช้า ๆ อย่างนี้ไม่ได้
ที่จริง การที่เรามาฝึกสติ กาหนดรู้ธรรม ให้สติเรา “รู้ทัน” อาการที่
เกิดขึ้น เรามาอยู่ที่นี่ เราทาอาการให้ช้าลง แต่เรามาฝึกสติของเราให้ไวขึ้น พอกลับบ้านไปจะนาไปใช้ได้ การมาฝึกปฏิบัติธรรม คือ การมาเจริญสติ ฝึกสติของเราให้ต่อเนื่อง ที่จริงถ้าเรามีสติกาหนดรู้อยู่กับอาการของเราไป เรื่อย ๆ ฝึกจนเกิดความเคยชิน หรือเกิดความชานาญ ที่เรียกว่า “เป็นวสี” ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถไหนก็ตาม พอขยับตัวก็รู้สึกทันที ขณะที่คิดก็รู้ว่าคิด ทันที ขณะที่เห็นก็รู้ชัดเลยว่าเห็นอะไร รู้ทันที รู้สึกทันที นั่นคือสติเราไว
ทีนี้ ความแตกต่างก็คือว่า เวลาเราอยู่ ณ สถานที่ที่ปฏิบัติตรงนี้ เรามีเจตนาที่จะรู้อาการเกิดดับของรูปนามเป็นหลัก มีเจตนาที่จะรู้ถึงอาการ พระไตรลกั ษณเ์ ปน็ หลกั แตพ่ อกลบั ไปบา้ น เราตอ้ งใสใ่ จอาการพระไตรลกั ษณ์ ไหม ? ต้องเหมือนกัน! เพียงแต่เป็นไปในลักษณะที่เป็นบัญญัติ อย่างเช่น เรารู้อาการเกิดดับตรงนี้ในปัจจุบันที่เรานั่งปฏิบัติอยู่ทุกวันนี่ เรารู้อาการพระ ไตรลักษณ์ ที่บอกว่าเราเห็นอาการเกิดดับของรูปนาม สังเกตไหม อาการเกิด ดับของรูปนาม “บอกอะไร” กับเรา ? เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา บอกว่า “อะไร ๆ ก็ไม่เที่ยง” ใช่ไหม ? เปลี่ยนอยู่เรื่อย


































































































   333   334   335   336   337