Page 342 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 342

318
ก็เอาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ใช้ใจที่ว่าง ๆ นี่แหละทาหน้าที่รับรู้ ที่จริงปกติ ตอนที่สอบอารมณ์ อาจารย์ก็จะให้ทาเลย
ให้ลองดูว่า ขณะที่เห็นภาพ ให้จิตเราไปที่ภาพนั้น แต่ให้กว้างกว่าภาพ ภาพที่เห็นรู้สึกเป็นยังไง ? รู้สึกหนักหรือเบา ? ตรงนี้คือแทนที่เราจะดึง เอาภาพนั้นเข้ามาที่ใจเรา ธรรมชาติของคนเรานี่ เวลาเห็นอะไร ได้ยินอะไร มันจะดึงเรื่องราวนั้นเข้ามาที่ตัวเสียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนมากเลยนะ เผลอสติ เมื่อไหร่ ก็จะดึงเข้ามาที่ใจของเรา แต่ถ้าเรารับรู้โดยเอาจิตไปไว้ที่ตรงนั้นและ รู้ชัดตรงนั้น ลองดูว่า การรับรู้ในลักษณะอย่างนั้น จิตใจเรารู้สึกเป็นยังไง ? รู้ชัด ใช่ไหม ? รู้ชัด! มีสติไหม ? มีนะ ต้องรู้ชัดอย่างมีสติ ตรงนี้แหละ เรา จะเห็นอารมณ์นั้น เกิดตรงนั้นแล้วก็ดับตรงนั้น!
แล้วอีกอย่างหนึ่ง ที่บอกว่า ให้เอาความรู้สึกว่าเป็นเราออก ชานาญ บ้างหรือยัง ? คล่องขึ้นนะ จะมีอีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เอาความรู้สึกว่าเป็นเรา ออกจากตัว แล้วทาให้ใจเรารู้สึก ? โล่ง เบา ทีนี้ ก็จะมีปัญหาอีกอย่างว่า เอา ความรู้สึกว่าเป็น “เรา” ออกแล้ว แต่ยังไปติด “เขา” อยู่ เคยเป็นไหม ? ไม่มี เรา แต่เพราะ “คนนั้น” แหละ! คิดว่าตัวเองไม่มีเรา แล้วยังไปติด “เขา” อยู่! เราจะไป “ติด” ตรงไหน ? ติดที่รูปร่างหน้าตาหรือติดที่ชื่อ ? คาว่า “ติด” ไม่ใช่หลงใหลนะ คนละอย่างกันนะ! ที่อาจารย์พูดนี้หมายถึงว่า เรา “เห็น” หน้าคนนี้แล้วรู้สึกไม่ดีเลย พอ “ได้ยิน” ชื่อคนนี้แล้วรู้สึกไม่ดีเลย เป็นทุกข์ ขึ้นมา หรืออกุศลเกิด หรือเห็นแล้วรู้สึกตะหงิด ๆ ขึ้นมา
เริ่มแรก ให้เอาความรู้สึกว่าเป็นเราออกก่อน ถ้าเอาความรู้สึกว่าเป็น เราออกแล้ว ยังรบกวนอยู่ ลองเอาความรู้สึกว่า “เป็นเขา” ออก โยมลองดู นะ นกึ ถงึ ใครกไ็ ดส้ กั คนหนงึ่ ทโี่ ยมรสู้ กึ วา่ นกึ ถงึ แลว้ ใหค้ วามรสู้ กึ ไมค่ อ่ ยดเี ลย แต่ไม่ใช่สร้างเรื่องไม่ดีให้เกิดขึ้นนะ จะบอกวิธี โยมลองสังเกตดูว่า โยมติด ตรงที่รูปหรือที่ชื่อ ? เมื่อได้ยินชื่อแล้วใจเรารู้สึกไม่ค่อยดี ลองเอา “ชื่อ” ออก จากรูปนั้น รู้สึกเป็นไง ? ภาพที่เห็น ? (โยคีกราบเรียนว่า ไม่ชอบอยู่ดี) เวร


































































































   340   341   342   343   344