Page 370 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 370

346
ลองสังเกตง่าย ๆ ถ้าเราทาอะไรด้วยความรู้สึกว่ามีเรา คือมีตัวตน ในการกระทา กับทาอย่างไม่มีตัวตน อันไหนเป็นระเบียบมากกว่า ? อันไหน หนักมากกว่า ? อันไหนเบามากกว่า ? อันไหนสบายกว่า ? อันไหนดีกว่า ? นี่คือการพิจารณาสภาวะ ตรงนี้คือพิจารณาแบบบัญญัติ แค่กาหนดรู้ถึง ความไม่มีตัวตนเท่านั้นเอง สิ่งเหล่านี้เราเอาไปใช้ได้ตลอดทั้งวันเลย กาหนด ได้ตลอดทั้งวันเลย ถ้ากาหนดได้ตลอดทั้งวัน ก็จะเป็นสิ่งที่ดีมาก ๆ เป็น ความต่อเนื่องของอารมณ์
แค่กาหนดรู้ถึง “ความไม่มีตัวตน” อย่างเดียว พอใจที่จะรู้ว่า จะหยิบ ก็ไม่มีตัวตน จะเดินก็ไม่มีตัวตน ไม่รู้สึกว่าเป็นเรา มีแต่อาการที่เคลื่อนไหวไป ถ้าพิจารณาในลักษณะอย่างนี้ ผลที่ตามมาคือ อาการเกิดดับของอารมณ์ ต่าง ๆ ก็จะชัด เพราะอะไร ? เพราะไม่มีตัวความอยากมาบัง ถ้าทาอย่างนี้จิต จะมีกาลัง สติจะมีกาลัง อาการก็จะปรากฏชัดเองโดยอัตโนมัติ เพราะฉะนั้น ที่พูดมานี่ ถ้าเราเอาไปใช้ เราจะเห็นถึงความแตกต่างว่า การพิจารณารู้ถึง ความไม่มีตัวตนในแต่ละขณะนั้น สภาพจิตจะเปลี่ยนไป จะต่างจากเดิมไป
ถงึ แมเ้ ราจะมเี จตนารถู้ งึ ความไมม่ ตี วั ตนเหมอื นเดมิ แตใ่ นแตล่ ะขณะ สภาพจิตก็จะเปลี่ยนไป ลองดูว่า จิตที่ว่างบอกว่าเป็นใครหรือเปล่า ? อันนี้ ละเอียดขึ้นไปอีก กาหนดรู้ถึงจิตที่ว่างแบบไม่มีตัวตน จิตขุ่นมัวขึ้นมา มีตัว ตนไหม ? บอกว่าเป็นของเราหรือเปล่า ? อันนี้ต้องสังเกต ไม่ใช่พอขุ่นมัว ก็สรุปว่ามีตัวตนแล้ว อาจารย์เคยบอกว่า เมื่อไหร่ก็ตามการรับรู้อารมณ์แล้ว กระทบถึงตัว แล้วมีอาการหนักขึ้นมา ขณะนั้นมีตัวตน แต่บางสภาวะพอ มีขุ่นขึ้นมา มันเกิดอยู่ที่รูป แต่ไม่มีเรา รู้สึกว่าเกิดอยู่บริเวณรูป แต่พอดู จริง ๆ ไม่มีรูป แต่ถ้าเราไปสรุปว่ามีเราปุ๊บ ก็จะเป็นความเข้าใจผิดทันที
บางสภาวะเหมือนเกิดอยู่ที่รูป แต่พอดูรูป ไม่มีรูป ถามว่า มีเราไหม ขณะนั้น ? ไม่มีเราแต่ก็เกิดขึ้นได้ นั่นคือเวทนาทางใจที่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น อย่าเพิ่งสรุปทันที ให้ดูก่อน พอมีตัวตน เลยแน่นขึ้นมา อันนั้นชัด ได้! แต่


































































































   368   369   370   371   372