Page 381 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 381

357
นิดหนึ่ง นิดหนึ่ง... แต่ถ้าเราปล่อยความรู้สึกเข้าไปที่อาการทั้งหมด ให้รู้สึก ตรงนั้นทันทีเลยว่า พอมุ่งแล้วปล่อยความรู้สึกเข้าไปถึงอาการแต่ละขณะ ให้ความรู้สึกเป็นอย่างไร ? อาการนั้นดับในลักษณะอย่างไร ? ดับแล้วเกิด อย่างไร ? เกิดแล้วดับอย่างไร ?
การที่เรากาหนดอาการเกิดดับ ให้เห็นตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงที่สุด บางที กาหนดแล้วเห็นแต่อาการเกิดขึ้นมาอย่างเดียว ไม่เห็นอาการดับ ทาอย่างไร ถึงจะเห็นอาการดับ ? เราก็เข้าไปที่อาการเกิดนั่นแหละ กาหนดตั้งแต่เริ่ม เกิดจนเขาหมดไป เมื่อไหร่ที่กาหนดทันอาการเกิด ก็จะเห็นว่าเขาดับใน ลักษณะอย่างไร สภาวะจะปรากฏเองไม่ต้องไปหา แค่เข้าไปรู้ให้ทันหรือเข้า ให้ถึงอาการเท่านั้นเอง ลักษณะอาการเกิดดับจะปรากฏในตัวของเขาเอง ทั้ง หลายทั้งปวงที่พูดมาก็คือว่า ที่บอกว่า “ยกจิตขึ้นสู่ความว่าง” จะทาให้เรา กาหนดรู้อาการเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างไม่มีตัวตน ไม่มีเรา มีแต่จิตที่ทาหน้าที่รู้กับอาการที่เกิดขึ้น
อยา่ งการกา หนดความคดิ ทปี่ รากฏขนึ้ มาในแตล่ ะวนั ในแตล่ ะบลั ลงั ก์ ในแตล่ ะชวั่ โมง เมอื่ มสี ตกิ า หนดรู้ ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ เปลยี่ นแปลงไปอยา่ งไร ? ต่างจากเดิมอย่างไร ? อายุของอารมณ์หรืออายุของความคิด ตั้งอยู่ยาวแค่ ไหน ? สั้นกว่าเดิมหรือยาวกว่าเดิม ? ดับเร็วกว่าเดิมหรือดับช้ากว่าเดิม ? อายุอารมณ์หรืออายุของความคิดขณะใหญ่ หมายถึงความคิดที่เกิดขึ้นใน ช่วงระหว่างวัน ไม่ใช่เฉพาะตอนที่เรานั่งกรรมฐาน ความคิดที่เกิดขึ้นใน อิริยาบถย่อย ที่เราทากิจกรรม ทาโน่นทานี่ตลอดเวลา เมื่อมีความคิดเกิด ขึ้นมา สังเกตไหมว่า ความคิดเกิดและดับในลักษณะอย่างไร ? ความคิดที่ เกิดขึ้นมามีน้าหนักหรือว่าไม่มีน้าหนัก ? อายุอารมณ์ของความคิดเปลี่ยนไป อย่างไร ? สั้นลงกว่าเดิม ? รู้เร็วกว่าเดิม ?
การรู้เร็วกว่าเดิม การที่เรามีสติเร็วขึ้นไวขึ้น การรับรู้ความคิดไม่ต้อง ใช้เวลานาน จากเมื่อก่อนเราใช้เวลา ๕ นาทีถึงรู้เรื่องในสิ่งที่เราคิด กับตอน


































































































   379   380   381   382   383