Page 439 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 439

415
ความมีทิฏฐิของเรานี่แหละ ถ้ารู้สึกมีมากมันก็ตั้งอยู่นาน มีทิฏฐิน้อยก็ตั้ง อยู่ไม่นาน มันก็คลายเร็ว
การรบั รผู้ า่ นบรรยากาศเปน็ ตวั ปอ้ งกนั อยา่ งหนงึ่ แลว้ ถา้ ใหบ้ รรยากาศ กับความรู้สึกเป็นตัวเดียวกันในการรับรู้ จะยิ่งดีใหญ่ เพราะอะไร ? ป้องกัน เชื้อที่จะเกิดขึ้น เพราะมันอยู่ข้างนอกแล้วมันก็ดับ อยู่ข้างนอกแล้วก็ดับ... เข้าไม่ถึงใจ แต่ต้องใช้บ่อย ๆ ฝึกบ่อย ๆ อย่าคิดว่าทาได้แล้ว พอแล้ว... ให้ ฝึกเป็นเรื่องปกติ พิสูจน์ได้ อย่างที่บอก ใช้ความสุขบ้าง ความว่างบ้าง ความ เบาบ้าง ความสงบบ้าง ความโล่งบ้าง เฉย ๆ บ้างก็ได้
ใช้ความเฉยเขาเรียก “อุเบกขา” ถ้าบรรยากาศของความรู้สึกอุเบกขา กว้าง เราอิสระ แต่ถ้าอุเบกขาแคบ เราจะอึดอัดเหมือนถูกล็อก ไม่ดี! ไม่สบาย! ถ้าเราจะเฉย ต้องเฉยแบบเราสบายเราอิสระถึงจะดี วางเฉยกับ อารมณ์แล้วไม่ถูกบีบคั้น ถ้าวางเฉยกับอารมณ์แล้วถูกบีบคั้น แสดงว่าเรา ไม่กว้าง เรื่องไหนควรวางเฉยก็วางเฉย เรื่องไหนไม่ควรวางเฉยก็ต้องทา เห็นไหม พูดถึงบรรยากาศ อาจารย์พูดข้างหน้า ขึ้นลง ขึ้นลงอยู่นี่ พูดถึงสูง แล้วทาไมต้องถอยกลับมาอีก ? ต้องถอยอีกจะได้ทาซ้า ๆ ซ้า ๆ
และตัวสาคัญเลย บรรยากาศตรงนี้จะเป็นตัวกาลัง ทาให้จิตเรา มีกาลังต่อเนื่อง เวลาเราปฏิบัติมันจะเป็นแรงหนุนเวลาเราเจาะสภาวะ ถ้ามี บรรยากาศเมื่อไหร่จิตเราจะมีสมาธิขึ้นมาทันที แล้วเราก็เจาะสภาวะได้ง่าย และการที่มีบรรยากาศรองรับ เวลาเราปฏิบัติ ความมีตัวตนจะเกิดได้ยาก ไม่ใช่ความมีตัวตนดับง่ายนะ ความมีตัวตนเกิดได้ยาก เห็นไหม แสดงว่า ไม่มีตัวตนและป้องกันตัวตนที่จะเกิดขึ้นมาด้วย แต่เมื่อไหร่ก็ตามที่เราไม่มี บรรยากาศรองรับ จะดับตัวตนได้ยากหน่อย มีตัวตนเป็นเจ้าเรือน มีเรา เป็นผู้รับรู้ตลอด เพราะฉะนั้น ปล่อยให้กว้าง มีบรรยากาศรองรับ
ที่ท่านแม่ครูให้มองผ่านความสุข เวลาเห็น เห็นผ่านความสุข เวลา ได้ยินเสียง ได้ยินเสียงผ่านความสุข ท่านบอกว่าเวลาดื่มน้าเวลากลืนอาหาร


































































































   437   438   439   440   441