Page 442 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 442

418
หรอก ถ้าเป็นความว่างจิตต้องไม่รับรู้อะไรเลย ว่างต้องไม่คิดอะไรเลย... นั่นคือ “ความเข้าใจคาว่าว่าง”
กับ “ความรู้สึกที่ว่าง” ตรงนี้ มีบรรยากาศของความว่างรองรับอยู่ รอบตัว ทั้งข้างบนข้างล่าง แล้วรู้สึกว่าเรานั่งอยู่ในความว่าง ถามว่า ยังรับรู้ ได้ไหม ? เรายังรับรู้ได้และรับรู้ผ่านความว่างได้ด้วย ตรงนี้แหละเป็นเรื่อง อัศจรรย์! รับรู้ผ่านความว่าง แม้แต่ให้อารมณ์นั้นอยู่นอกบรรยากาศของ ความว่างของเรายังได้ อะไรว่าง ? จิตว่าง ว่างจากอะไร ? ว่างจากตัวตน ว่างจากกิเลส ว่างจากความเป็นเรานั่นเอง พอว่างจากความเป็นเรา เหลือ อะไร ? ก็เหลือธรรมชาติ
ธรรมชาติก็คือสภาวธรรมที่เป็น “สัพเพ ธัมมา อนัตตา” ธรรมชาติ คือความไม่มีตัวตน ไม่มีอะไร มีแต่จิตที่ทาหน้าที่รู้ บางคนเขาเรียกว่าเป็น “ธาตรุ ”ู้ หรอื “วญิ ญาณร”ู้ แตถ่ า้ มแี คว่ ญิ ญาณรจู้ ติ รอู้ ยา่ งเดยี ว จติ รจู้ ะทา หนา้ ที่ รู้ขณะเล็กหรือบรรยากาศที่รองรับเป็นขณะใหญ่ เห็นไหม ยังมีรายละเอียด เพิ่มเติมที่ต่างออกไปอีก ไม่ใช่แค่ทาหน้าที่รู้ เป็นแค่ผู้ดู ผู้ดู... ผู้ดูตัวนี้มีกาลัง หรือไม่มีกาลัง ดูอย่างมีสติประกอบด้วยปัญญาเห็นความเปลี่ยนแปลง เห็น ความไม่มีตัวตน หรือสักแต่ว่าดูไปอย่างนั้นแหละ มีตัวตนก็ไม่รู้ จิตว่างก็ ไม่รู้ เบาก็ไม่รู้ รู้แต่ว่าเป็นผู้ดูเฉย ๆ เห็นไหม เป็นเพียงแค่ผู้ดู ดูในลักษณะ อย่างไร ? ดูแล้วจิตเป็นอย่างไร ?
แต่อันนี้เราดูแบบนี้ มีบรรยากาศรองรับปุ๊บ นี่คือ “ตัวปัญญา” เป็น การแยกนามกับนาม แยกจิตกับจิต รู้ว่าจิตว่าง จิตโล่ง จิตเบา... ให้ตัวรู้ กับความโล่งเบาเป็นคนละส่วนกัน แล้วยังสามารถให้ความโล่งเบากับตัวรู้ เป็นอันเดียวกันได้ อันนี้พิสดารนะ ที่เราปฏิบัติไม่ใช่ธรรมดา เพียงแต่ว่า เราไม่เข้าใจหรืออาจารย์ยังไม่ได้อธิบาย เห็นขนาดธรรมดานะที่ไม่ธรรมดา! สังเกตดูสิ สิ่งนี้เราก็เคยเจอ สภาวะนี้ก็เคยเจอ จริง ๆ แล้วรู้สึกดีอย่างไร ? ถ้าเรารู้คุณค่าของจิตแต่ละขณะที่เกิดขึ้น รู้คุณค่าของจิตที่ว่าง รู้คุณค่าของ


































































































   440   441   442   443   444