Page 445 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 445

421
ขึ้นมาแล้ววุ่นวายไม่สงบก็ไม่ดี แต่ถ้าลืมตาขึ้นมาแล้วมีสติรับรู้อาการเกิด ดับที่เกิดขึ้นได้ ถือว่าดีมากแล้ว! เพราะฉะนั้น เวลากาหนดสภาวะที่เกิดขึ้น ขอให้ทาต่อเนื่อง ลองดู ใช้แบบนี้ ฝึกการรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ให้มีบรรยากาศ รองรับ ไม่ว่าจะในอิริยาบถหลักหรืออิริยาบถย่อย
สิ่งที่สาคัญคือในอิริยาบถย่อยควรใช้ให้เยอะ อิริยาบถหลักไม่น่า ห่วงเท่าไหร่หรอกเพราะอยู่นิ่ง ๆ อิริยาบถย่อยนี่ตัวสาคัญ เป็นการป้องกัน อารมณ์ที่มากระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจก็ยังเป็น คิดมาก พอเดิน แล้วก็คิด ๆ ๆ ๆ ทาอะไรก็คิด คิดเยอะแยะ นั่นแหละ! เราลืมตาในอิริยาบถ ย่อย อารมณ์เกิดขึ้นทางทวารทั้ง ๖ ได้ ตอนที่เราหลับตา อารมณ์ที่มาทาง ตาปิดไปได้ เหลือแต่ทางหูกับทางกายทางใจ ทางลิ้นก็ปิดไปเถอะ ปิดปาก ได้มันก็เงียบแล้ว เว้นแต่อมอะไรไว้สักอย่างหนึ่งเท่านั้นแหละ เพราะฉะนั้น เวลาเรากาหนดมันตัดไปได้เยอะ
เพราะฉะนั้น เวลากาหนดสภาวะ ให้เราฝึกอย่างนี้ เราเอาบรรยากาศ มาเป็นตัวรองรับทุก ๆ อารมณ์ แล้วไม่ใช่รองรับอย่างเดียว เวลาเราเจาะ สภาวะจติ จะมกี า ลงั ดว้ ย ถามวา่ แลว้ ตอนทเี่ จาะสภาวะ เราตอ้ งหว่ งบรรยากาศ ไหม ? ไม่ต้องห่วง พอมีบรรยากาศรองรับปุ๊บ อาการเกิดดับปรากฏขึ้นมา ในบรรยากาศ ไม่ว่าจะเป็นความสงบ ความใส มุ่งไปเลย เจาะสภาวะมุ่ง ไปที่อาการเกิดดับนั้นจนสิ้นสุดไปเลย พอหมดปุ๊บ บรรยากาศที่ก่อนหน้านี้ ใส ๆ อยู่ พออาการเกิดดับหมดปุ๊บ เขาเปลี่ยนไปอย่างไร ให้รู้ตรงนั้นไป เลย นั่นคือการกาหนดอารมณ์
ต่อไปอาจารย์จะไม่บรรยายแล้ว ให้นั่งเงียบ ๆ ก่อนสักนิดหนึ่งจน กว่าจะเห็นสมควรแก่เวลา


































































































   443   444   445   446   447