Page 461 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 461

437
หมายความว่ายังไง!? อันนั้นไม่ดี ไม่ดีตรงที่ว่าเราจะทาต่อไม่ได้ ถ้าสงสัย
ถาม!
เพราะฉะนั้น การปฏิบัติวิปัสสนาเขาถึงสอบอารมณ์ สอบอารมณ์นี่
อาจารย์จะถามละเอียดมากขึ้น บางอย่างรู้ว่าโยคีเล่าไม่หมด เล่าแบบ ข้าม ๆ ๆ อย่างของโยมเล่าแค่สามจุด จริง ๆ แล้วเขามี แต่ก็ถูกนะ เล่า สามจุดที่สาคัญ จริง ๆ การเล่าสภาวะ ถ้าเราสงสัยหรือไม่ชัด ให้รู้เลยว่า เขาไม่ชัด พอไม่ชัดแล้วทายังไง ? อันนี้สาคัญนะ ไม่ใช่ว่าทาให้ชัดก่อนแล้ว ค่อยเล่าสภาวะถึงเรียกว่าดี ไม่ดีตรงที่ว่าเวลามันติดแล้วเราไม่แก้ ตอนที่เรา ไม่ชัดนี่เราไม่แก้ รอให้มันชัดแล้วถึงเล่าก็ไม่ต้องแก้อะไร ใชไหม ? เวลาติด แล้วไม่แก้ พอมันถอยกลับไปที่เดิมแล้ว เออ! ค่อยยังชั่วหน่อย เราก็กล้า เล่าหน่อย
โยคีส่วนใหญ่ก็จะเป็นอย่างหนึ่งก็คือว่า เวลาปฏิบัติรู้สึกว่าตัวเอง ทาไม่ได้ ไม่กล้าเล่าสภาวะ คือรู้สึกเองนะว่าตัวเองปฏิบัติแล้วทาไม่ได้ เหมือนคนอื่น ก็มาถึงตรงที่ว่ารอฟังคนอื่นว่าจะเหมือนเราไหม พอไม่เหมือน เรา โอ! เขาปฏิบัติได้ดีกว่าเรา เราไม่กล้าเล่าหรอก อันนี้อย่างหนึ่ง รู้สึกว่า เราปฏิบัติไม่ได้ คงไม่ดีหรอก ไม่เหมือนของเขาเลย อันนั้นอย่างหนึ่ง แล้ว ก็จะทาให้ติดอยู่ เพราะฉะนั้น การเล่าคือการส่งอารมณ์ คือการแก้ปัญหา ตัวเอง ถ้าอาจารย์แก้ให้ได้ก็จะแก้ ถ้าแก้ให้ไม่ได้ก็ไปแก้กันเอง แต่โดย สภาวะนี่ส่วนใหญ่แล้วไม่ต่างกันเท่าไหร่ ถ้าเราจับหลักได้ถูก มันก็จะเดิน หน้าไปได้เรื่อย ๆ
เพราะฉะนั้น หลักสาคัญของการเจริญวิปัสสนา การเจริญกรรมฐาน- สติปัฏฐาน ๔ กาย เวทนา จิต และธรรม ที่เรากาหนดดูกายในกาย เรา กาหนดพองยุบ ใช่ไหม ? บางทีก็กาหนดลมหายใจ ทาไมดูกายถึงเรียกว่า พองยุบ ? แล้วลมหายใจเข้าออกไม่เรียกว่าเป็นอาการของกายด้วยหรือ ? อาการต่าง ๆ ที่เกิดตามร่างกายของเรา อาการเต้นของหัวใจก็คืออาการของ


































































































   459   460   461   462   463