Page 476 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 476

452
เพราะฉะนั้น ในแต่ละบัลลังก์ก็จะมีสภาพจิตที่เปลี่ยนไป ในแต่ละวัน ก็จะเปลี่ยนไป ดีบ้างไม่ดีบ้างก็เรียกว่าเปลี่ยน ดีมากขึ้น มากขึ้น... ก็เรียกว่า เปลี่ยน หรือสภาพจิตเราเริ่มขุ่นมัวแย่ลงก็เรียกว่าเปลี่ยน รู้สึกขุ่นมัวสลัวไม่ ตื่นตัวก็เรียกว่าเปลี่ยน ทุกอย่างมีการเปลี่ยนแปลง อารมณ์ที่กาลังปรากฏ อยู่ เพราะฉะนั้น นักปฏิบัติจึงต้องมีสติรู้อยู่กับปัจจุบันให้ต่อเนื่อง และสังเกต อาการเกิดดับของรูปนามอยู่เนือง ๆ ไม่ให้คลาดสายตา
วธิ กี ารทเี่ ราจะกา หนดอารมณไ์ ดต้ อ่ เนอื่ งทงั้ อริ ยิ าบถหลกั และอริ ยิ าบถ ย่อย อิริยาบถหลัก รู้ชัดถึงอารมณ์หลักที่กาลังปรากฏขึ้นมา ในอิริยาบถย่อย รู้ชัดถึงอาการที่กาลังปรากฏ การเคลื่อนไหวในแต่ละขณะ และเพื่อความต่อ เนื่องและถี่มากขึ้นคือการกาหนด “ต้นจิต” ในอิริยาบถย่อย เป็นสิ่งสาคัญ มาก ๆ การกาหนดต้นจิต เราต้องสังเกตตัวเราเองว่า เมื่อวานกาหนดได้ ประมาณสัก ๕ เปอร์เซ็นต์ วันนี้กาหนดต้นจิตได้สัก ๑๐ เปอร์เซ็นต์ แต่ เวลาส่งอารมณ์ไม่ต้องบอกว่าวันนี้กาหนดได้ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ เมื่อวานกาหนด ได้ ๕ เปอร์เซ็นต์...
ให้เล่าว่า วันนี้ขณะที่กาหนดต้นจิต ต้นจิตมีอาการแบบนี้แบบนี้ สภาพจิตเป็นแบบนี้ เล่าตามอาการ สักพักหลุดไป พอรู้สึกตัวขึ้นใหม่ กาหนดอีก เห็นต้นจิตเขามีอาการแบบนี้ ปรากฏขึ้นก่อนนิดหนึ่ง แวบหนึ่ง หรือพุ่งไป นั่นคือการเล่าถึงอาการของต้นจิต ไม่ใช่ว่าจะต้องทาได้ตลอด ทั้งวัน ถ้าทาได้ตลอดทั้งวันได้ ดี! แต่หาได้ยาก ทาได้ตลอดทั้งวันแล้ว จิตใจไม่มีการเปลี่ยนเลย กับเห็นอาการเกิดดับแต่ละขณะ เห็นต้นจิต ประมาณสักระยะหนึ่ง สภาพจิตใจเปลี่ยนเป็นตื่นตัวขึ้น ใสขึ้น มีกาลังมากขึ้น อาการของอิริยาบถย่อยชัดเจนขึ้น เลยไปดูอาการอิริยาบถย่อยแทน
การกาหนดต้นจิต เบื้องตนเรารู้อาการต้นจิตไปสักระยะหนึ่ง อาการ ของอิริยาบถย่อยที่เกิดต่อจากต้นจิตมีความชัดเจนมากกว่า จนอาการของ ต้นจิตไม่ชัดหรือหายไป จิตจะไปรู้ที่อาการของอิริยาบถย่อยเลย ถ้าเป็น


































































































   474   475   476   477   478