Page 506 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 506

482
ไป ก็ให้รู้ชัด แล้วเล่าตามอาการ
พอเล่าจบ อาการนี้หมด อะไรเกิดขึ้นต่อ ? ไปรู้อะไรต่อ ? พออาการ นี้พุ่งมาแล้วหมดไปปุ๊บ เปลี่ยนเป็นความว่างไปเลย สงบ เงียบไป... สักพัก แล้วค่อยได้ยินใหม่ เกิดใหม่ หรือว่าเงียบไปนิดหนึ่งแล้วเกิดใหม่ ? นี่คือ “ความต่อเนื่องของอารมณ์” สิ่งที่ต้องสังเกต ทีนี้ พอเกิดใหม่ขึ้นมา ให้สังเกต “ความต่าง” ของเขาว่า เมื่อเขาเกิดใหม่ขึ้นมา เขาต่างจากเดิมอย่างไร ? ที่ ถามว่าต่างจากเดิมอย่างไรนี่ เขายังพุ่งขึ้นมาอีก หรือว่าผุดขึ้นมาแล้ว ดับเลย ไม่มีอาการพุ่งแล้ว หรือพุ่งไปข้างหน้า หรือพุ่งด้านซ้ายทีขวาที หรือ เปลี่ยนตาแหน่ง เดี๋ยวแวบตรงนั้นเดี๋ยวแวบตรงนี้ ? เวลาเล่าสภาวะ เล่า ตามอาการ
การที่เราเล่าสภาวะแบบนี้ได้ หรือเราสังเกตอาการเหล่านี้ได้ชัดเจน เห็นความแตกต่างของอารมณ์ จะส่งผลให้เห็นถึงความแตกต่างของสภาพ จิตเรา และจะทาให้เราเห็นถึงความแตกต่างของการกระทาของเราในแต่ละ ขณะ แต่ละขณะ ว่าส่งผลแตกต่างกันอย่างไร ฉะนั้น เวลาเรากาหนดอาการ กาหนดสภาวะแต่ละครั้ง เวลาเรามุ่ง อาการเกิดดับเขาเปลี่ยนไปอย่างไร ? ขณะที่เรานิ่ง อาการเกิดดับเปลี่ยนไปอย่างไร ? ขณะที่เราเป็นผู้ดู อาการ เกิดดับเปลี่ยนไปอย่างไร ?
แล้วขณะที่กาหนดอาการ กาหนดสภาวะ ไม่ใช่ว่าเราจะมุ่งได้ตลอด เวลา หรือทันทุกอาการ เพราะฉะนั้น สิ่งที่ต้องสังเกตก็คือ เมื่อเพิ่มตัวมุ่ง อาการเปลี่ยนไปอย่างไร ? เล่าตามอาการตอนที่เรามุ่ง ๆ เข้าไป ตอนที่หยุด มุ่งก็ไม่ต้องไปกังวล ตอนที่ไม่ได้มุ่งอาการเขาก็เป็นแบบนั้น แต่พอมุ่งแล้ว เขาเปลี่ยนไปอย่างไร ? สิ่งที่ต้องทาสาคัญก็คือว่า ถ้าให้เพิ่มตัวมุ่ง ควร พยายามมุ่งให้มากเท่าที่มุ่งได้ วิธีการมุ่ง “ให้เพิ่มความนิ่งแล้วมีเป้าหมาย” พอนิ่งแล้วมีเป้าหมาย จิตเราจะมุ่งไปทางนั้นทันที


































































































   504   505   506   507   508