Page 511 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 511

487
ตรงนั้น เดี๋ยวกระตุกตรงนี้ เราก็สังเกตไปเรื่อย คอยระวังอาการเหล่านี้ว่า จะเกิดตรงไหนต่อ จะทาให้สติเรามีความต่อเนื่อง สภาวะเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็
สาคัญ!
และที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ ฝึกอย่าเป็นคนหยุมหยิม สภาวะ
เล็ก ๆ น้อย ๆ สาคัญ แต่ไม่ใช่เอาเรื่องเล็กน้อยมาเป็นเรื่องสาคัญ เอาเรื่อง เล็ก ๆ น้อย ๆ มาเป็นเรื่องสาคัญจนเราติด ๆ ๆ ๆ ไปหมด แต่สภาวะ เล็ก ๆ จุดเล็ก ๆ ต้องให้ความสาคัญ ส่วนความคิดเล็ก ๆ น้อย ๆ เรื่อง หยุมหยิม มองข้าม! เลือกแต่ประเด็นที่สาคัญ ส่วนใหญ่ก็คือเรื่องหยุมหยิม เล็ก ๆ น้อย ๆ นี่แหละที่ทาให้เราติด นิดเดียวก็ไม่ได้ อันนั้นก็ไม่ได้ อันนี้ ก็ไม่ได้... แต่เวลาดูสภาวะกลับไม่ใส่ใจ มันจะเป็นอย่างนั้น
เพราะฉะนั้น ลองสังเกตดูดี ๆ เป็นคนเรื่องมาก กับสภาวะเกิดขึ้น มากมายนี่ ต่างกัน! ถ้าเรารู้จักสงบ รู้จักหยุด เลือกถูก เรื่องใหญ่กลายเป็น เรื่องเล็ก ประเด็นสาคัญที่ต้องทาคืออะไร ? ย้อนกลับมาที่เดิม เราปฏิบัติเพื่อ อะไร ? ย้อนกลับมาทุกที ปฏิบัติเพื่ออะไร ? เพื่อขัดเกลาจิตใจของเรา จบ! มันจะมาหยุดที่ประเด็นตรงนี้ อย่างอื่นไม่ต้องกังวล เราขัดเกลาจิตใจ ของเรา หยุดตัวเรา ดับอารมณ์ของเรา ดับความคิดของเรา ดับได้ไม่ได้เรื่อง ของเรา ไม่ใช่เรื่องของคนอื่น มาอยู่ตรงนี้แหละ เราจะทาอย่างไรกับตัวเรา ?
ถ้าเรื่องมากก็คือว่า อันนั้นก็ไม่ได้ อันนี้ก็ไม่ได้ ติดขัดไปหมด ! ร้อน หน่อยก็ไม่ได้ เย็นมากก็ไม่ได้ เขาเรียกว่าหนาวนัก ร้อนนัก ค่าแล้ว ยังเช้า อยู่ ฯลฯ เขาเรียก “ข้ออ้างของผู้เกียจคร้านทาการงาน” เวลาเราปฏิบัติก็ เหมือนกัน บอกให้กาหนดความร้อนกาหนดความเย็น เย็นมาก ๆ กาหนด ความเย็น ร้อนมาก ๆ กาหนดความร้อน โอ! นั่งแล้วทาไมมันร้อนแบบนี้!? ร้อนแบบไหน ? มันร้อนมาก ๆ ได้กาหนดไหม ? ไม่ได้กาหนด รู้แต่ร้อน มาก ๆ! นั่นคือลักษณะของธาตุไฟที่ปรากฏ เป็นอารมณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้ว ต้องกาหนดรู้ ร้อน ร้อนแบบไหน ? ร้อนอยู่ข้างในหรือร้อนอยู่รอบ ๆ ตัว ?


































































































   509   510   511   512   513