Page 59 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 59

35
ดูจิตคิด เขาเรียกดูจิตในจิตอย่างหนึ่ง อันนี้เป็นการดูจิตอย่างหนึ่งเหมือน กัน จัดเป็นการดูลักษณะของสภาวธรรมทิ่เกิดกับจิตเราอย่างหนึ่ง เมื่อเรา มีเจตนาที่จะกาหนดรู้ความคิด เมื่อความคิดเกิดขึ้น มีเจตนาที่จะรู้ว่า ความคิดแต่ละเรื่องแต่ละอย่างที่ปรากฏขึ้นมานั้น เกิดดับในลักษณะ อย่างไร เอามาเป็นอารมณ์กรรมฐาน ความคิดนั้นก็จะไม่รบกวน หรือไม่ ทาให้เราเกิดความขุ่นมัวเศร้าหมอง อันนี้ต้องมีเจตนานะ การที่เราจะ กาหนดความคิดได้ ต้องรู้ชัดอย่างหนึ่งก็คือว่า เห็นชัดว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้ กับ ความคิดที่เกิดขึ้น เป็นคนละส่วนกัน ต้องแยกนามกับนามได้จึงจะกาหนด จิตได้ดี ถ้าแยกไม่ออกว่าความคิดที่เกิดขึ้น กับจิตที่ทาหน้าที่รับรู้ เป็น คนละส่วนกัน ก็จะกาหนดยากนิดหนึ่ง อันนี้ส่วนหนึ่ง จิตอย่างหนึ่งคือ ความคิด ที่เขาเรียก “ดูจิตในจิต”
อีกอย่างหนึ่งก็คือ สภาพจิตขณะนั้นว่าเป็นอย่างไร อย่างเช่น ขณะ ที่กาหนดรู้ความคิด เห็นความคิดเกิดอยู่ในความว่าง เกิดอยู่ในความสงบ เกิดอยู่ในความเบา ถามว่าความสงบ ความเบานั้นเป็นอะไร เป็นสภาพจิต เป็นจิตของเราด้วยหรือเปล่า เป็นจิตด้วยหรือเปล่า ลองพิจารณาดูว่าจิต เบา จิตโล่ง จิตโปร่ง จิตว่าง จิตสงบ นั่นคือ “ดูจิตในจิต” อีกขั้นตอนหนึ่ง ดูว่าจิตขุ่นมัว จิตเศร้าหมอง จิตผ่องใส จิตสว่าง อันนี้คือการดูจิตในจิต เห็น จิตตัวเอง ดูสภาพจิตเรา
อีกขั้นตอนหนึ่งก็คือ รู้ว่าจิตที่เข้าไปรับรู้อารมณ์เหล่านั้น แม้จิตที่ทา หน้าที่รู้ว่าว่าง รู้ว่าสงบ หรือรู้ความคิดนั้น จิตที่ทาหน้าที่รู้ เขามีอาการเกิด ดับด้วยหรือเปล่า นั่นคือ “การดูจิตในจิต” รู้ว่าจิตคิด รู้ว่าจิตเบา จิตว่าง จิตโปร่ง จิตสงบ รู้ว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้ เกิดดับในลักษณะอย่างไร ตรงนี้คือ “การดูจิตในจิต”
เพราะฉะนั้นให้พิจารณา บางทีเราปฏิบัติ เราต้องแยกให้หมดอย่างนี้ ไหม เราต้องแยกให้ได้ทุกอย่างหรือเปล่า ? ไม่จาเป็น บางครั้งไม่ต้องไปหา


































































































   57   58   59   60   61