Page 82 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 82

58
เวทนานั่นเอง คือให้กาหนดรู้ว่า ความคิดที่เกิดขึ้นกับจิตที่ทาหน้าที่รู้เรื่องที่ คิด เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วน อันนี้ต้องพิจารณา ต้องกาหนดรู้
จาไว้อย่างหนึ่งว่า การกาหนดรู้ในลักษณะอย่างนี้ จะทาให้ปัญญาเรา เกิดขึ้นมา เห็นตามความเป็นจริงว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้กับความคิด เป็นส่วน เดียวกันหรือคนละส่วน เป็นการแยกนามกับนาม รู้ตามความเป็นจริงของ สภาวธรรมที่เกิดขึ้น การแยกนามกับนาม แยกจิตกับความคิดที่เกิดขึ้น เพื่อ อะไร ? เมื่อไหร่ก็ตามที่เรากาหนดรู้ถึงความเป็นคนละส่วนระหว่างจิตกับ ความคิด ก็จะทาให้จิตเราไม่คล้อยตามความคิด หรือไม่ไหลตามความคิด จิตดวงนี้จะเป็น “สติ” ที่ทาหน้าที่กาหนดรู้ความคิดที่เกิดขึ้น
เมื่อจิตทาหน้าที่กาหนดรู้ความคิดที่เกิดขึ้น และกาหนดรู้ถึงความ เป็นคนละส่วน ระหว่างความคิดกับจิตที่ทาหน้าที่รู้อยู่นั้น จุดหนึ่งที่นักปฏิบัติ ต้องพิจารณาก็คือว่า เมื่อเห็นว่า “ความคิดกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เป็นคนละ สว่ นกนั ” ใหพ้ จิ ารณาดวู า่ “ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ มานนั้ เกดิ อยทู่ ไี่ หน” เกดิ อยทู่ ตี่ วั เกิดอยู่ที่บริเวณหัวใจ เกิดอยู่ที่สมอง หรือว่าเกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ ให้กาหนดรู้ ในลักษณะอย่างนี้ เมื่อเห็นว่าเกิดอยู่ที่ไหน จากนั้นก็ให้กาหนด “ให้จิตที่ทา หน้าที่รู้กว้างกว่าเรื่องที่คิด”
จากนั้น เมื่อเรากาหนดรู้อย่างไม่มีตัวตน พิจารณาว่าเป็นคนละส่วน แล้ว ก็พิจารณาดูว่า “ความคิดที่เกิดขึ้นมานั้น เกิดและดับในลักษณะอย่างไร” ต้องมี “เจตนา” หรือ “พอใจ” ที่จะกาหนดรู้ว่า ความคิดที่เกิดขึ้นแต่ละขณะ นั้น เกิดและดับในลักษณะอย่างไร อย่างเช่น พอคิดถึงเรื่องนี้.. ปรากฏขึ้น มา แล้วก็จากไปหายไป หรือปรากฏขึ้นมา แล้วก็แตกกระจายไป หรือปรากฏ ขึ้นมา แล้วก็ผ่านไป ตรงนี้คือต้องมีเจตนาที่จะกาหนดรู้ถึงลักษณะการ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของความคิด
และอีกอย่างหนึ่ง เพื่อความละเอียดยิ่งขึ้น ก็พิจารณาดูว่า ขณะที่ กาหนดความคิดอยู่นั้น “กาหนดความคิดอย่างมีตัวตน หรือมีเราเป็นผู้รู้


































































































   80   81   82   83   84