Page 13 - วทยาศาสตรเพอพฒนาอาชพธรกจและบรการ
P. 13

9


               แสดงสมบัติของตนเอง ทําให้ปรากฏลักษณะร่วมกันออกมาพบในการ


               ผสมโคขนสีแดงกับขนสีขาว ได้ลูกผสมรุ่นแรก โคนขนสีแดงปลายขนสี


               ขาว หรือหมู่เลือด AB ซึ่งประกอบด้วยอัลลีน  IA และ IB ซึ่งเป็นลักษณะ


               เด่นทั้งคู่


                         3) ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยมัลติเปิลแอลลีล


               (Multiple Alleles) เป็น ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยแอลลีลส์


               มากกว่า 2 ชนิด แต่ละยีนจะอยู่ในตําแหน่งเดียวกันของ โฮโมไซกัส


               โครโมโซม ตัวอย่างเช่น สีของเมล็ดข้าวสาลี ซึ่งมียืนควบคุม 3 คู่ ถ้า


               กําหนดให้ R R, R เป็น ยืนที่ทําให้เมล็ดข้าวสาลีมีสีแดง  ส่วนแอลลีลของ


               ยืนเหล่านี้คือ เป็นยีนที่ทําให้เมล็ด ข้าวสาลีไม่มีสี ยีนที่ควบคุมการมีสี


               หรือไม่มีสีจะแสดงออกได้เท่า ๆ กัน ดังนั้น เมล็ดข้าวสาลีที่มีจีโนไทป์  r rr


               จะแสดงลักษณะเมล็ดสีขาว ส่วนพวกที่มีจีโนไทป์ RR RR RR จะแสดง


               ลักษณะ เมล็ดสีแดงเข้ม ถ้าจีโนไทป์มียืนควบคุมสีแดงจํานวนมากขึ้น  สี


               ของเมล็ดจะเข้มขึ้นเป็นลําดับ


                         4) ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยโพลียีน (Polygene)


               หรือ มัลติเปิลยีน (Multiple Gene) เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูก


               ควบคุมโดยยืนตั้งแต่ 2 ถึง 40 คู่ โดยยืนแต่ละคู่อาจ  อยู่บนโครโมโซมคู่


               เดียวกันหรือต่างคู่ก็ได้ เช่น เมล็ดข้าวสาลี มียีนควบคุม 3 คู่ คือ R, R, R


               เป็นยีน ที่ทําให้เมล็ดข้าวสาลีมีสีแดง  ส่วนแอลลีลส์ของยีนเหล่านี้  ได้แก่


               เป็นยีนที่ทําให้เมล็ดข้าวสาลี ไม่มีสี ยีนทั้งสองกลุ่มสามารถแสดงออกได้ดี
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18