Page 17 - วทยาศาสตรเพอพฒนาอาชพธรกจและบรการ
P. 17

13


                    3.5 ยีนในโครโมโซมเพศ


                         โครโมโซม X และ Y เป็นโครโมโซมเพศ เพราะทั้งคู่มียีนที่ควบคุม


               ลักษณะของเพศและลักษณะ  บางอย่างของร่างกาย  เนื่องจากโครโมโซม


               X มีความยาวมากกว่าโครโมโซม  Y มาก ดังนั้นในโครโมโซม  จึงมียืนอยู่


               มากส่วนในโครโมโซม X นั้นมียีนที่ค้นพบแล้วน้อยกว่าโครโมโซม X และมี


               ยีนที่ควบคุมลักษณะ  เพศชาย เพราะผู้ที่มีแต่โครโมโซม  X จะมีลักษณะ


               ภายนอกของร่างกายเป็นเพศหญิง  แต่ถ้ามีโครโมโซม * เพียงแห่งเดียวไม่


               ว่าจะมีโครโมโซม X อยู่กี่แห่ง ก็จะแสดงลักษณะภายนอกของร่างกายเป็น


               เพศชาย


                         ยืนต่าง ๆ ที่อยู่บนโครโมโซม X เรียกว่ายีนที่เกี่ยวเนื่องกับ


               โครโมโซม X (X-Linked Gene) หรือยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ (Sex-linked


               Gene) เช่น ยืนตาบอดสี ยืนโรคเลือดแข็งตัวช้า ยืนโรคขาด เอ็นไซม์ G-6


               PD (Glucose-6-Phosphase De-hydrogenise) เป็นต้น  โดยยืนที่


               กล่าวถึงนี้เป็นยีนด้อย ทั้งสิ้น ดังนั้นเมื่ออยู่กับยีนเด่นซึ่งเป็นคู่ของมัน


               อาการผิดปกติก็จะไม่ปรากฏ ทําให้ลักษณะที่ควบคุมโดย ยีนด้อย ใน


               โครโมโซม X พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง  เนื่องจากเพศชายมี


               โครโมโซม X เพียงแห่งเดียว  ส่วนเพศหญิงมีโครโมโซม  X 2 แท่ง ถ้าจะ


               ปรากฏอาการในเพศหญิง  หญิงนั้นต้องมียีนนี้ในโครโมโซม  X ทั้ง 2 แท่ง


               จึงจะแสดงลักษณะนั้นออกมา


                         ยืนต่าง ๆ ที่อยู่บนโครโมโซม Y เรียกว่ายีนที่เกี่ยวเนื่องกับ


               โครโมโซม Y (Y-linked Gene) คือ ยีนที่ควบคุมลักษณะเพศชาย ซึ่ง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22