Page 229 - การให้รหัสโรค
P. 229
218
ตัวอย่างเช่น Procedure มีรหัส Concept ของหัตถการ เช่น
Excision - action (qualifier value) 129304002
Repair - action (qualifier value) 257903006
Resection-recession - action (qualifier value) 129345005
Anastomosis - action (qualifier value) 257741005
Insertion - action (qualifier value) 257867005
นำไป Combined กับ Body Structure
ข้อเสีย ต้องรู้วิธีการสร้าง Post-coordination (หลาย Concept Id) แทนที่จะใช้ Single concept
Id การเก็บข้อมูล (Data storage) และการค้นหา (Query) และแสดงข้อมูล (Retrieval) เช่น
Appendectomy 80146002
ถ้าใช้เทคนิค Post-coordination
Procedure | Method | Excision
| 71388002 | 260686004 | 129304002
Procedure site –direct | Appendix
| 405813007 | 66754008 |
ื่
จะเห็นว่าต้องใช้รหัส Concept ถึง 5 ชุด เพออธิบาย Appendectomy ซึ่งมี Pre-
coordinate concept Id คือ 80146002 ซึ่ง SNOMED CT อนุญาตให้ใช้ได้ทั้ง Pre-coordination
และ Post-coordination แต่เทคนิคที่นิยม คือ ใน Concept ที่ใช้บ่อยนิยมใช้แบบ Pre-
coordination และกรณีต้องการให้มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน เช่น Laterality , Clinical Course ,
Using device นิยมใช้วิธี Post-coordination
SNOMED CT และเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์
ิ
ปัจจุบันเวชระเบียนอเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Record) เป็นที่นิยมใช้ใน
โรงพยาบาลเกือบทุกแห่ง การทำซอฟท์แวร์สำหรับการบันทึกทางคลินิกมความยากอยู่ 2 ประการ คือ
ี
1. ระบบไหลเวียนของข้อมูลไปยังผู้เกี่ยวข้อง เช่น แพทย์ทั่วไป แพทย์เฉพาะทาง เภสัชกร
พยาบาล ผู้ป่วย และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ มีความซับซ้อน และใช้คำศัพท์แตกต่างกันไป
2. การใช้คำศัพท์ทางการแพทย์ ซึ่งมีรากศัพท์จากภาษาลาติน ชื่อบุคคลสำคัญทางการแพทย์
คำย่อ ยากที่จะทำความเข้าใจได้หมด
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ