Page 3 - E-Book เรื่อง ความเร้นลับของพืช
P. 3

2.เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissue) ตามปกติแลวไมสามารถแบงเซลลไดอีก (บางครั้งก็สามารถเปลี่ยนเปน

       meristem ได) เปนองคประกอบหลักของพืช มีหนาที่แตกตางกันไป



       เนื้อเยื่อถาวรแบงได 2 ประเภท คือ


       1.เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue) คือ เนื้อเยื่อที่ประกอบดวยเซลลชนิดเดียวกันมาทําหนาที่

       รวมกัน



       - เนื้อเยื่อผิว (epidermis) พบในสวนนอกสุดของพืช มีเซลลหลายชนิด เชน เซลลเอพิเดอมิส (epidermis cell)

       เซลลคุม (guard cell) เซลลขนราก (root hair cell) หรืออาจเปลี่ยนเปนขน (trichome)



       - พาเรงคิมา (parenchyma) ทําหนาที่เปนเนื้อเยื่อพื้นฐานของพืช รูปทรงกระบอก หนาตัดหลายเหลี่ยมคอนขาง

       กลม vacuole ใหญ ผนังเซลลบาง โดย parenchyma ทีี่มี choroplast อยูเราเรียกวา chlorenchyma



       - คอลเลงคิมา (Collenchyma) เปนเนื้อเยื่อที่มีกลุมเซลลคลาย Parenchyma มีลักษณะดังนี้                       -

       เซลลรูปรางคอนขางยาว ผนังเซลลหนาไมเทากัน เซลลอยูชิดกัน มีชองวางระหวางเซลลนอย ชวยเพิ่มความแข็งแรง

       ใหกับพืช สวนใหญไมมีคลอโรพลาสต พบมากในกานใบ เสนกลางใบ และคอรเทกซ ของพืชลมลุก

       มีหนาที่ชวยพยุงหรือใหความแข็งแรงในขณะที่พืชยังออนและใหความแข็งแรงแกกานใบ เสนกลางใบ



       - สเกอเลงคิมา (Sclerenchyma) เปนเซลลที่มีผนังหนาและแข็งแรงมาก เนื่องจากมีสารลิกนิน มาสะสมที่ผนังเซลล

       ถือเปน Plant Skeleton เซลลที่โตเต็มที่แลวสวนใหญเปนเซลลไมมีชีวิต มีความยืดหยุนนอยกวา Collenchyma

       แบงเปน 2 ชนิดคือ


       1) Fiber เปนเซลลที่ตายแลว รูปรางเรียวยาว หัวทายแหลม ผนังเซลลหนา มีความเหนียวและยืดหยุนสูง เชน ปาน

       Fiber อยูรวมกันเปนกระจุก

       2) Sclereid เปนเซลลที่ตายแลว เซลลมีรูปรางหลายแบบ เซลลมีผนังหนามาก อยูรวมกันเปนกลุม (2-100 เซลล)

       พบตามสวนตางๆ ของพืช เชน กะลามะพราว เมล็ดพุทรา เนื้อลูกสาลี่ นอยหนา เปนตน
   1   2   3   4   5   6   7   8