Page 6 - E-Book เรื่อง ความเร้นลับของพืช
P. 6

โครงสรางภายในของปลายรากพืช



               เปนบริเวณที่เซลลเปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่เฉพาะ และเจริญเติบโตเต็มที่ โดยเนื้อเยื่อ Epidermis บริเวณนี้

       บางสวนผนังเซลลยื่นยาวกลายเปนขนราก         เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมนํ้าและแรธาตุ   และเนื้อเยื่อมีการ

       เปลี่ยนแปลงเปนเนื้อเยื่อถาวร Protoderm เปลี่ยนเปน Epidermis, Root hair /Ground meristem เปลี่ยนเปน

       Cortex / Procambium เปลี่ยนเปน Xylem, Phloem, Cambium, Pith



       โครงสรางตามยาวของราก แบงได 4 บริเวณ คือ



       1.  บริเวณหมวกราก  (Root  cap)  ประกอบดวยเซลลพาเรงคิมา  (Parenchyma)  เรียงตัวกันอยางหลวมๆ  ผนัง

       คอนขางบาง  มีแวคิวโอลนาดใหญ  สามารถผลิตเมือกได  ทําใหหมวกรากชุมชื้  และออนตัว  สะดวกคอการชอนไช

       และสามารถปองกันอันตรายใหกับบริเวณที่อยูเหนือขึ้นไปได



       2.บริเวณเซลลกําลังแบงตัว(Region  of  cell  pision)อยูถัดจากรากขึ้นมาประมาณ  1-2  mm  เปนบริเวณของ

       เนื้อเยื่อเจริญ  จึงมีการแบงเซลลแบบไมโทซีส  เพื่อเพิ่มจํานวน  โดยสวนหนึ่งเจริญเปนหมวกราก  อีกสวนเจริญเปน

       เนื้อเยื่อ ที่อยูสูงถัดขึ้นไป




       3. บริเวณเซลลขยายตัวตามยาว (Region of cell elongation) อยูถัดจากบริเวณเซลลมีการแบงตัว เปนบริเวณที่

       เซลลมีการยืดยาวขึ้น



       4. บริเวณเซลลเปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่เฉพาะ (Region of cell differentiation and maturation) ประกอบดวย

       เซลลถาวรตางๆ  ซึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญมีโครงสรางเพื่อทําหนาที่ตางๆ  บริเวณนี้จะมีเซลลขน

       ราก (Root hair cell)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11