Page 32 - E-Book เรื่อง ความเร้นลับของพืช
P. 32

ปฏิกิริยาที่ไมตองใชแสง หรือ ปฏิกิริยาการตรึงคารบอนไดออกไซด (CO2Fixation)

              CO2  Fixation  เกิดขึ้นที่  Stroma  เกิดขึ้นไดโดยไมตองใชแสง  เกิดขึ้นหลังจาก  Light  Reaction  โดยใช

       พลังงานจาก ATP และ NADPH เกิดเปนวัฏจักร ผูคนพบคือ คัลวินและเบนสัน เรียกวา วัฏจักรเคลวินและเบนสัน
       (Calvin & Benson Cycle) หรือ Calvin Cycle โดยแบงปฏิกิริยาเปน 3 ชวง คือ CO2Fixation, Reduction,

       Regeneration

























              * ผลิตภัณฑสุดทายของกระบวนการสังเคราะหดวยแสง คือ คารโบไฮเดรต (นํ้าตาล) นํ้า

       การตรึงคารบอนไดออกไซดของพืช C3, C4และ CAM

              ตัวอยางพืช  C3  เชน  ขาวจาว  ขาวสาลี  ถั่ว  และพืชทั่วไปเกือบทุกชนิด  สวนใหญไมมีคลอโรพลาสตใน

       Bundle sheath การตรึง CO2 เกิดใน Mesophyll สารตัวแรกที่เกิดขึ้นหลังการตรึง CO2คือ PGA (มี C 3 อะตอม)
              ตัวอยางพืช  C4  เชน  ขาวโพด  ออย  ขาวฟาง  พืชตระกูลหญาในเขตรอน  ชั้น  Bundle  sheath  มีคลอ

       โรพลาสต ตรึง CO2ไดดีกวา C3ประมาณ 3 เทา เกิดการตรึง CO2ในชั้น Mesophyll และ Bundle sheath สารตัว

       แรกที่เกิดขึ้นหลังการตรึง CO2คือ OAA (มี C 4 อะตอม)

              ตัวอยางพืช CAM เชน กระบองเพชร สัปปะรด ปาน วานหางจระเข เกิดการตรึง CO2 2 ครั้ง ครั้งแรก (เกิด
       กลางคืน) PEP ตรึง CO2 จากอากาศ ได OAA เปลี่ยนเปน Malic acid เก็บใน Vacuole ครั้งที่สอง (เกิดกลางวัน)

       Malic acid ปลอย CO2 ให RuBP เกิด Calvin Benson Cycle
   27   28   29   30   31   32   33   34