Page 27 - E-Book เรื่อง ความเร้นลับของพืช
P. 27

Guttation



              การสูญเสียนํ้าของพืชอีกประเภทหนึ่งเรียกวา  การคายนํ้าเปนหยด  เปนการ  สูญเสียนํ้า  โดยเฉพาะในขณะที่

       สภาวะแวดลอมไมอํานวยตอการคายนํ้า เชน ในเวลากลางคืน ในขณะที่มีอากาศเย็น ความชื้นสูงและลมสงบ ในภาวะ

       เชนนี้ ถารากพืชยังสามารถดูดนํ้าเขา จะทําใหเกิดแรงดันราก ซึ่งจะดันใหนํ้าและสารที่ละลายอยูในนํ้า ในไซเลมไหล

       ออกทางปลายสุดของทอไซเลมคือบริเวณสวนปลายของเสนใบ  (vein  ending)  นํ้าที่ถูกขับออกมาในรูปของหยดนํ้า

       ผานชองเปดที่เรียกวา ไฮดาโทด (hydathode) ตามขอบใบและปลายใบ ภายในของเหลวที่ถูกขับออกโดยวิธีการคาย

       นํ้าเปนหยดนี้พบวามี สารอาหารหลายชนิดเจือปนอยูดวย ไดแก สารเกลือแร กรดอินทรีย กรดอะมิโน และอื่นๆ



       การดูดนํ้าของรากพืช



              นํ้าเขาสูรากทางขนรากไดโดย กระบวนการออสโมซิส การแพรธรรมดา (Diffusion) โดยผานไปตามผนังเซลล

       และชองวางระหวางเซลล























       การลําเลียงนํ้าของพืช



              การลําเลียงนํ้าของพืช จากรากขึ้นไปสูยอดเกิดขึ้นโดยอาศัยกระบวนการตาง ๆ คือ



       1.แรงดึงจากการคายนํ้า (Transpiration pull)เมื่อพืชมีการคายนํ้าทางปากใบทําใหเกิดการลําเลียงเนื่องจากมีแรงดึง

       ระหวางโมเลกุลของนํ้า (Cohesion)



       2.  แรงดันราก  (Root  Pressure)  เมื่อรากดูดนํ้าเขาสูรากมาก  ๆ  จะเกิดแรงดันดันใหนํ้าเคลื่อนที่เขาไปสูเซลลถัดไป

       ตามทอลําเลียงนํ้าขึ้นสูยอด



       3.  Capillary  Action  เกิดขึ้นไดเนื่องจาก  แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของนํ้ากับผนังดานขางหลอดในทอลําเลียงของ

       ไซเลม (Adhetion)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32