Page 25 - E-Book เรื่อง ความเร้นลับของพืช
P. 25
ความสําคัญของการคายนํ้า
กระบวนการคายนํ้าเปนกระบวนการสูญเสียนํ้าที่พืชดูดขึ้นมาจากราก โดยนํ้า ที่พืชดูดขึ้นมานั้นจะถูกนําไปใชใน
กระบวนการสังเคราะหดวยแสง เพียง 1-2 % เทานั้น นอกนั้นจะระเหยออกทางปากใบ ดังนั้นจึงมีการศึกษากันวา
กระบวนการคายนํ้าที่เกิดขึ้นนี้มีประโยชนอยางไร ซึ่งผลจากการศึกษาในปจจุบันนี้เชื่อกันวา การคายนํ้ามีประโยชนตอ
พืช โดยตรง เชน ชวยลดอุณหภูมิใบ ชวยควบคุมการดูดและลําเลียงเกลือแร เปนตน นอกจากนี้ยังอาจเปนโทษกับพืช
มากกวาดวย เพราะทําใหพืชสูญเสียนํ้าโดยเปลาประโยชน และถาพืชเสียนํ้าไปมากๆ โดยเฉพาะพืชที่อยูในที่แหงแลง
พืชจะปดปากใบเพื่อ ลดการสูญเสียนํ้าซึ่งมีผลทําใหการสังเคราะหดวยแสงหยุดชะงักลง การเจริญเติบโตของพืช ก็จะถูก
กระทบกระเทือน และถาพืชเกิดการขาดนํ้าอยางรุนแรง พืชจะเหี่ยวเฉาและตายในที่สุด
ปจจุบันนักพฤกษศาสตรจึงพยายามหาวิธีการตาง ๆ ที่จะชวยลดอัตราการคายนํ้า
การลดอัตราการคายนํ้าการลดอัตราการคายนํ้าจะกอใหเกิดผลดีตอพืช เพราะจะชวยทําใหพืชมีการใชนํ้าที่ดูด
ขึ้นไป อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ปญหาการขาดนํ้าจะนอยลง แตการลดอัตรา การคายนํ้านั้นตองระวังไมให
กระทบกระเทือนตออัตราการสังเคราะหดวยแสง และอัตราการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งวิธีการนั้นอาจทําได โดยใชสาร
เคมี หรือวัสดุบางชนิด สาร หรือวัสดุที่ใชลดอัตราการคายนํ้านี้ เรียก สารยับยั้งการคายนํ้า (Antitranspirant) ปจจุบัน
แบงไดเปน 2 ชนิด คือ
- ชนิดที่ใชเคลือบผิวใบ เชน พลาสติกใส นํ้ามันที่มีความหนืด เปนตน
- ใชสารที่ทําใหปากใบปด เชน พอลิไวนิล แวกซ (polyvinyl waxes) พอลิเอทิลีน (polyethylene) กรดแอบไซสิก และ
พินิลเมอรคิวริก อะซิเทต (phenylmercuric acetate) เปนตน โดยการใชสารเหลานี้สเปรยไปที่ใบ แตจากการศึกษาตอ
มาภายหลังพบวาสารบางตัวมีผลยับยั้งการแพรเขาของแกสคารบอนไดออกไซด