Page 29 - E-Book เรื่อง ความเร้นลับของพืช
P. 29

โครงสรางของคลอโรพลาสต (Chloroplast)



       คลอโรพลาสต (Chloroplast) เปนพลาสติด ที่มีสีเขียว พบเฉพาะในเซลลพืช และสาหราย เกือบทุกชนิด พลาสติคมี

       เยื่อหุมสองชั้น ภายในจะมีเม็ดสี หรือรงควัตถุบรรจุอยู ถามีเม็ดสีคลอโรฟลล (Chlorophyll)เรียกวา คลอโรพลาสต

       ถามีเม็ดสีชนิดอื่นๆ เชน แคโรทีนอยด เรียกวา โครโมพลาส (Chlomoplast)ถาพลาสติคนั้นไมมีเม็ดสี เรียกวา ลิว

       โคพลาสต (Leucoplast)ประกอบดวย สวนที่เปนของเหลว เรียกวา สโตรมา (stroma)มีDNA RNAและไรโบโซม


       และเอนไซม ในของเหลวเปนเยื่อลักษณะคลายเหรียญ ที่เรียงซอนกันอยู เรียกวา กรานุม (Granum) หนาที่สําคัญ

       ของคลอโรพลาส คือ การสังเคราะหดวยแสง(Photosynthesis)โดยแสงสีแดง และแสงสีนํ้าเงิน เหมาะสม ตอการ

       สังเคราะห ดวยแสงมากที่สุด



       สารสีในปฏิกิริยาแสง แบงเปน 2 กลุม



       1. คลอโรฟลล (Chlorophyll) ----->พบมากที่สุด มีบทบาทในการสังเคราะหดวยแสงมากที่สุด เปนรงควัตถุที่มีสีเขียว ที่
       พบในแบคทีเรีย เรียกวา Bacteriochlorophyll



       2. Accessory Pigment



       - Carotenoid พบในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่สังเคราะหดวยแสงได



       - Carotene สีแดงสม



       - Xanthrophyll สีเหลือง หรือ เหลืองแกมนํ้าตาล



       - Phycobilin ไมพบในพืชชั้นสูง พบเฉพาะในสาหรายสีแสง และสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน



       - Phycoerythrin สีแดง



       - Phycocyanin สีนํ้าเงิน



       - Chlorophyll ดูดกลืนแสงไดดีที่ความยาวคลื่น 400-500 nm และ
       600-700 nm ชวงความยาวคลื่นอื่นดูดกลืนโดย Accessory pigment
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34