Page 26 - E-Book เรื่อง ความเร้นลับของพืช
P. 26

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการคายนํ้า



       ปจจัยภายนอก หมายถึง ปจจัยทางสิ่งแวดลอมภายนอก ไดแก



       - แสงสวาง แสงมีผลตออัตราการคายนํ้า โดยแสงสวางมาก จะทําใหปากใบเปดกวางมากขึ้น



       - อุณหภูมิ การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิมีผลทําใหแรงดันไอในชวงวางระหวางเซลลสูงกวาอากาศรอบๆผิวใบ ทําใหพืชมี

       อัตราการคายนํ้าเพิ่มมากขึ้น



       -ความชื้นของอากาศ ปกติจะถือวาบรรยากาศภายในใบพืชจะอิ่มตัวหรือเกือบจะอิ่มตัวดวยไอนํ้า ดังนั้น อัตราการ

       แพรของไอนํ้าจากภายในใบออกสูภายนอกจึงขึ้นอยูกับความชื้นของอากาศภายนอก ถาอากาศภายนอกมีความชื้น

       สูง อัตราการคายนํ้าก็จะตํ่า ในทางตรงกันขาม ถาอากาศภายนอกมีความชื้นตํ่า การคายนํ้าก็จะเกิดมากขึ้น



       - ลม ลมชวยพัดพาไอนํ้าที่ระเหยออกจากใบ และที่อยูรอบๆใบ ใหพนจากผิวใบ เพื่อทําใหการแพรของไอนํ้าออก

       จากใบมากขึ้น



       -ความกดดันของบรรยากาศ ในที่ที่มีความกดดันของบรรยากาศตํ่าอากาศจะเบาบางลง และมีความหนาแนนนอย

       ทําใหไอนํ้าในใบแพรออกมาไดงายกวาขณะที่อากาศมีความกดดันของบรรยากาศสูง



       ปจจัยภายใน หมายถึง ปจจัยอันเนื่องมาจากองคประกอบตางๆของพืช ได



       - พื้นที่ใบ พื้นที่ใบยิ่งมาก การสูญเสียนํ้าก็ยิ่งมาก



       - การจัดเรียงตัวของใบ ถาพืชหันทิศทางอยูในมุมที่ตรงกันขามกับแสง อาทิตย เปนมุมแคบจะเกิดการคายนํ้านอย

       กวาใบที่อยู เปนมุมกวาง



       - ขนาดและรูปรางของใบ ใบพืชที่มีขนาดใหญและกวางจะมีการคายนํ้า มากกวาใบเล็กแคบ



       - โครงสรางภายในใบ พืชในที่แหงแลงจะมีการปรับตัวใหมีปากใบลึก มีชั้นผิวใบ (cuticle) หนา ทําใหการคาย

       นํ้าเกิดขึ้นนอยกวาพืชในที่ชุมชื้น หรือพืชนํ้า



       - อัตราสวนของรากตอลําตน ถาพืชมีอัตราสวนของรากตอลําตนมาก การคายนํ้าก็เกิดขึ้นไดมาก เพราะอัตราการ

       ดูดซึมของรากจะมีมาก
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31