Page 110 - จราจร
P. 110

๑๐๓




                 เซ็นเซอรตรวจจับคนขามถนนเพื่อสงขอมูลเตือนแกผูขับขี่ใหระมัดระวังและ/หรือควบคุมใหรถหยุด
                 แบบอัตโนมัติ สัญญาณไฟสําหรับคนขามถนนที่สามารถปรับเปลี่ยนชวงเวลาใหเหมาะสมกับจํานวน

                 และประเภทของคนขามได
                             ๘)  ระบบสนับสนุนสําหรับการทํางานของยานพาหนะในเหตุฉุกเฉิน (Support for
                 Emergency Vehicle Operations) เพื่อรับมือกับเหตุฉุกเฉินและดําเนินการชวยเหลือผูประสบภัย

                 พิบัติหรืออุบัติเหตุบนทองถนนไดรวดเร็วทันการและเหมาะสม รถที่ประสบเหตุจะมีอุปกรณติดในรถ
                 ที่สามารถแจงเหตุและสื่อสารกับหนวยงานที่เกี่ยวของโดยอัตโนมัติ เพื่อใหขอมูลเบื้องตนแกหนวยงาน

                 ที่รับผิดชอบในการเตรียมการ เชน ระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุ ลักษณะของอุบัติเหตุ จํานวนผูโดยสาร
                 ในรถ จํานวนรถที่เกิดเหตุ ตลอดจนตําแหนงของรถที่เกิดเหตุขณะนั้น ระบบนี้อาจกาวหนาไปถึงขั้นให

                 ขอมูลทางกายภาพของผูโดยสารและผูขับขี่ดวย เชน เพศ/วัย ลักษณะการบาดเจ็บ บริเวณกระดูกที่หัก
                 การเสียเลือด การหมดสติ เปนตน ขอมูลตางๆ เหลานี้จะทําใหผูใหความชวยเหลือสามารถวินิจฉัยได

                 ลวงหนาหรือระหวางเดินทางไปยังที่เกิดเหตุ เพื่อลดระยะเวลาที่ตองใชกอนเขาถึงและเริ่มดําเนินการ
                 ชวยเหลือ หลังจากนั้นขอมูลสภาพจราจรและสภาพความเสียหายของถนน (กรณีเกิดภัยพิบัติ) ยังถูก
                 รวบรวมและวิเคราะหแบบตามเวลาจริงเพื่อสงใหหนวยงานที่รับผิดชอบใชวางแผนและสามารถเดินทาง

                 เขาสูพื้นที่เกิดเหตุไดอยางรวดเร็ว ระบบดังกลาวยังอาจทํางานรวมกับศูนยบริหารจัดการจราจร เพื่อให
                 ชวยจัดการสัญญาณไฟจราจรหรืออํานวยเสนทางสําหรับรถฉุกเฉินตางๆ ไดดวย



                             ò.ó.ò à·¤â¹âÅÂÕสําËÃѺ§Ò¹¨ÃÒ¨Ãã¹»ÃÐà·Èä·Â
                                      ò.ó.ò.ñ ÊÑÞÞҳ俨ÃÒ¨Ã

                                                 ๑)  ระบบควบคุมสัญญาณไฟจราจรเปนพื้นที่ (Area Traffic Control)

                 โดย กรุงเทพมหานคร ไดเริ่มดําเนินการตั้งแต ป พ.ศ. ๒๕๓๖ ดวยการนําคอมพิวเตอรระบบ SCOOT
                 (Split Cycle and Offset Optimization Technique) ของอังกฤษมาใชงาน โดยอุปกรณตรวจวัด
                 สภาพจราจรจะสงขอมูลผานระบบสื่อสารไปยังศูนยควบคุมจราจร กทม. และจะทําการประมวลผล

                 ขอมูลเพื่อหาสภาพที่เหมาะสมของสัญญาณไฟจราจรเปนพื้นที่ทั้งหมด โดยมีแผนดําเนินการ
                 ระยะที่ ๑ ครอบคลุมพื้นที่ชั้นใน ๓๑ ตร.กม. และระยะที่ ๒ เพิ่มพื้นที่อีก ๑๕๐ ตร.กม. แตปจจุบันอยู

                 ในขั้นตอนการฟองรองทางคดีความ ซึ่งปจจุบันไดพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมจังหวะสัญญาณไฟ
                 จราจรแบบทางแยกอิสระ โดยปรับเปลี่ยนจังหวะไฟตามปริมาณรถในแตละทิศทาง และจะไดพัฒนา
                 จัดเปนกลุมทางแยก (Region) ตอไป

                                                 ๒)  อุปกรณนับเวลาสัญญาณไฟ เปนอุปกรณที่ใหขอมูลเวลา
                 รอคอยกอนจะถึงเวลาเปลี่ยนสัญญาณไฟ

                                                 ๓)  ระบบสัญญาณไฟจราจรคนขามถนนอัจฉริยะ เปนระบบ
                 สัญญาณไฟจราจรคนขามถนนที่ชวยเพิ่มความปลอดภัยสําหรับผูใชรถใชถนน และชวยบริการแกกลุม

                 ผูพิการทางสายตาในการขามถนนอีกดวย
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115