Page 189 - จราจร
P. 189

๑๘๒




                              การนําขอมูลที่เฉพาะเจาะจง ที่เกิดขึ้นในพื้นที่แตละแหงมาใชนั้นจะสามารถสราง
              ความตระหนักในปญหาที่ทําใหประชาชนรับรูวาเปนปญหาใกลตัวไดมากกวาการใชขอมูลระดับชาติ

              ที่ไมเฉพาะเจาะจง
                              อีกทั้งขอมูลจะทําใหการทํางานของตํารวจภายใตทรัพยากรที่จํากัดเปนไปอยางมี

              ประสิทธิภาพมากขึ้นดวย เรียกไดวา สามารถแกปญหาตามความสําคัญกอนหลัง สามารถแกปญหาได
              ถูกที่ ถูกคน ถูกเวลา โดยใชขอมูลที่มีประสิทธิภาพในการตัดสินใจ การทํางานอยางมืออาชีพนี้จะสราง

              ศรัทธาและการยอมรับที่ดีในที่สุด
                          ó. ¡ÒûÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ã¹§Ò¹¨ÃÒ¨Ã
                              “วิสัยทัศน” ในการประชาสัมพันธในงานจราจร “การสรางภาพลักษณที่ดี และการ

              สื่อสารงานจราจรสูสังคม”
                              ó.ñ ͧ¤»ÃСͺ¢Í§¡ÒûÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ã¹§Ò¹¨ÃÒ¨Ã

                                   สามารถจําแนกองคประกอบสําคัญของการประชาสัมพันธออกเปน ๔ ประการ
              คือ

                                   ๑.  องคกร สถาบันหรือหนวยงานในงานจราจร หนวยงานจราจรแตละ สภ.
              ศูนยปฏิบัติการจราจร

                                   ๒.  ขาวสารประชาสัมพันธในงานจราจร ขอมูลเกี่ยวกับเสนทาง ทางลัด
              ถนนเสีย  การเปดปดถนนเปนชวงเวลา  การยายสถานที่ราชการ  หางราน  การซอมผิวทาง

              ขบวนแหประเพณีตางๆ
                                   ๓.  สื่อประชาสัมพันธในงานจราจร สวนใหญตํารวจมักจัดทําเปนแผนปาย

              ปายสัญลักษณ การออกรายการวิทยุ ทีวีทองถิ่น หนังสือพิมพทองถิ่น ในปจจุบันมีสื่ออิเล็กทรอนิกส
              ที่ใชในชีวิตประจําวันมากขึ้น แมจะเขาถึงไดนอยราย แตสามารถแพรขาวไดอยางรวดเร็ว เชน เฟซบุก

              (facebook) ไลน (line)
                                   ๔.  กลุมประชาชนเปาหมายของการประชาสัมพันธในงานจราจร ไดแก

              กลุมบุคคลหรือประชาชนที่เปนเปาหมายในการสื่อสารประชาสัมพันธครั้งนั้นๆ ดังนี้
                                        ๔.๑  กลุมประชาชนภายใน เจาหนาที่ตํารวจทุกนาย ไวสําหรับสื่อสาร

              รับคําสั่ง แสดงผลการปฏิบัติ
                                        ๔.๒  กลุมประชาชนภายนอก กลุมประชาชนทั่วไป

                           ó.ò ¡ÒûÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸àªÔ§ÃØ¡ (Pro-active Public Relation)
                                   หมายถึง การประชาสัมพันธที่มีการชี้แจงและใหความรูความเขาใจกับกลุม
              เปาหมายโดยตรง โดยมีการวางแผนไวลวงหนากอนที่จะมีกิจกรรม หรือเหตุการณใด เพื่อใหเกิด

              ความยอมรับ และความรวมมือ
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194