Page 11 - Sanantinee Thirawut
P. 11
วรรณยุกต์
วรรณยุกต์ หมายถึง เครื่องหมายที่แสดงเสียงสูง ต่ า ของค าในภาษาไทย มี
4 รูป คือ
เสียงวรรณยุกต์ไทยมี 5 เสียง ดังนี้
1.เสียงสามัญ อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-กลาง เช่น กา คาง
2.เสียงเอก อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ า-ต่ า เช่น ก่า ข่า ปาก หมึก
3.เสียงโท อยู่ในระดับเสียงสูง-ต่ า เช่น ก้า ข้า มาก
4.เสียงตรี อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-สูง เช่น ก๊า ค้า ชัก
5.เสียงจัตวา อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ า-ต่ า-กึ่งสูง เช่น ก๋า ขา
ไม้เอก ไม้โท ไม้ตรี ไม้จัตวา
่ ่้ ่ ่
เสียงวรรณยุกต์ไทยมี 5 เสียง ดังนี้
1.เสียงสำมัญ อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-กลาง เช่น กา คาง
2.เสียงเอก อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ า-ต่ า เช่น ก่า ข่า ปาก หมึก
3.เสียงโท อยู่ในระดับเสียงสูง-ต่ า เช่น ก้า ข้า มาก
4.เสียงตรี อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-สูง เช่น ก๊า ค้า ชัก
5.เสียงจัตวำ อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ า-ต่ า-กึ่งสูง เช่น ก๋า ขา
ค าทุกค าในภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ บางค าต้องใช้รูป
วรรณยุกต์ ซึ่งมี 4 เสียง คือ เอก โท ตรี จัตวา เช่น ก่า ก้า ก๊า ก๋า แต่บาง
ค าไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ ซึ่งมีครบ 5 เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา เช่น
คาง ขาก คาก คัก ขาง เสียงวรรณยุกต์ของค าที่ไม้ใช้รูปวรรณยุกต์อาจ
เรียกได้ว่า พื้นเสียง