Page 15 - Sanantinee Thirawut
P. 15

2. รูปประโยคหลักของไทย มี 4 แบบ

                       2.1 ประโยคประธาน หมายถึงประโยคที่เอาผู้กระท าขึ้นต้น

                ประโยค เช่น แดงเตะตะกร้อ

                       2.2 ประโยคกรรม หมายถึง ประโยคที่เอาผู้กระท าขึ้นต้นประโยค

                เช่น นักเรียนถูกครูต าหนิ

                       2.3 ประโยคกริยา หมายถึง ประโยคที่เอากริยา เกิด มี ปรากฏ

                ขึ้นต้นประโยค เช่น มีข้าวในนา

                       2.4 ประโยคการิต หมายถึง ประธานของประโยคประโยคกรรมมี

                ผู้รับใช้แทรกเข้ามา เช่น คุณแม่ให้ฉันรดน้ าต้นไม้ (ประธานมีผู้รับ

                ใช้) หนังสือถูกครูให้นักเรียนอ่าน(กรรมมีผู้รับใช้) เพื่อนให้ฉันท า

                การบ้าน(ประธานมีผู้รับใช้)

                3. การจ าแนกประโยคตามเจตนาผู้ส่งสาร มี 4 ชนิด

                       3.1 ประโยคบอกเล่าหรือประโยคแจ้งให้ทราบ เช่น ธรรมะย่อม

                ชนะอธรรม

                       3.2 ประโยคค าถาม จะมีค าที่แสดงค าถามก ากับอยู่ 2 ลักษณะ

                คือ ต้องการค าตอบที่เป็นเนื้อความ และต้องการเพียงการตอบรับหรือ

                ปฏิเสธเท่านั้น

                3.3 ประโยคปฏิเสธ จะมีค าว่า ไม่ ประกอบอยู่เพื่อแสดงให้เห็นว่ามี

                ความหมายตรงกันข้ามกับประโยคบอกเล่า เช่น นิธิโรจน์ไม่ขี้เกียจเรียน

                หนังสือ วันนาไม่เคยกินส้มต า

                       3.4 ประโยคค าสั่งและขอร้อง เป็นประโยคที่มีลักษณะสั่งให้ท า

                หรือขอร้องให้ปฏิบัติ ซึ่งสามารถละประธานไว้ได้ เพราะผู้ส่งสารและ

                ผู้รับสารต่างเข้าใจและทราบว่าสั่งหรือขอร้องใคร เช่น ห้ามเดินลัด

                สนาม โปรดท าความเคาระประธานในพิธี กรุณาถอดรองเท้าก่อนเข้า

                ห้องเรียน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20