Page 37 - ชุดการสอน ภาคินี 08
P. 37

3. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ คือการวางแผนชุมชนท๎องถิ่นที่เน๎นการศึกษาข๎อมูลและ รายละเอียดอยํางเป็นระบบ

            ทั้งจากข๎อมูลเบื้องต๎น เอกสาร สอบถามเจ๎าหน๎าที่ นักวิชาการ และสมาชิกในชุมชนท๎องถิ่น โดยมีกระบวนการวิจัย

            แบบมีสํวนรํวมเพื่อให๎ได๎ข๎อมูลที่ถูกต๎อง ตรวจสอบได๎ และเหมาะสมในการจัดทําแผนชุมชน



            4. การมีส่วนร่วม คือการที่ประชาชนหรือเจ๎าหน๎าที่ภาครัฐและภาคเอกชนทุกระดับจะได๎มี สํวนรํวมแสดงความเห็น

            หรือวิเคราะห์ถึงเหตุผลและความต๎องการที่แท๎จริงของประชาชน เพื่อใช๎ ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนารํวมกัน โดยมี

            คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาตามหลักการที่วํารํวมมือ รํวมใจกันในการคิด ตัดสินใจ ลงมือทํา รับผิดชอบตํอสิ่งที่จะได๎

            ตกลงรํวมกันไว๎ในแผนชุมชน


            5.  องค์รวม คือการคิดอยํางองค์รวมหรือมองการพัฒนาอยํางครบวงจร มีการพิจารณา ในทุกมิติที่เกี่ยวข๎องกับการ

            พัฒนาชุมชนท๎องถิ่น เชํน กายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร สิ่งแวดล๎อม การเมือง วัฒนธรรม จิตวิทยา

            ประวัติศาสตร์ โดยมุํงไปยังการสร๎างชุมชนท๎องถิ่น ให๎มีความเข๎มแข็งเพื่อพร๎อมที่จะรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม

            ภายนอก นับวําการวางแผนชุมชน จะต๎องใช๎แนวทางแบบบูรณาการ กลําวคือ การพัฒนาในทุกมิติของวิถีชุมชน

            ท๎องถิ่นให๎เชื่อมโยง ตํอกันเป็นหนึ่งเดียวโดยไมํแยกสํวนการพัฒนา



            ขั้นตอนที่ 5 การประยุกต์ปฏิบัติจริง เริ่มจากการลงมือปฏิบัติจากจุดเล็ก ๆ ไปหาจุดใน เชํน พฤติกรรม การใช๎จําย

            การลงทุน การวางแผนผลิต


            1. ภูมิสังคม การคํานึงถึงความแตกตํางของแตํละพื้นที่ในชุมชน


            2. ทําให้ง่าย กระบวนการปฏิบัติจริงนั้นจะต๎องเน๎นความเรียบงําย ไมํยุํงยากซับซ๎อนในทาง ปฏบต สอดคล๎องกับวิถี

            ชีวิต วัฒนธรรม และธรรมชาติของชุมชน หากชุมชนท๎องถิ่นยึดแนวทาง ดังกลําวอยูํแล๎วไมํแนะนํากระบวนการพัฒนา


            ใด ๆ ที่ขัดแย๎งกับวิถีชีวิตของสมาชิกชุมชน กิจกรรม ภาคปฏิบัตินีอาจจะมีกิจกรรมหรือโครงการนํารํองเป็นต๎นแบบใน
            ชุมชน เพื่อสร๎างควอองทหน จริงกํอนที่จะขยายผลผํานระบบกลุํมและเครือขํายตํอไป



            3. ทําตามลําดับขั้น เริ่มจากการลงมือปฏิบัติจากระดับเล็ก ๆ ไปหาระดับใหญํ ๆ เชํน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสํวน

            บุคคล การใช๎จํายในครัวเรือน การลงทุนและการออมของกลุํม การวางแผนผลิตและตลาดของชุมชน การพัฒนา

            วิสาหกิจชุมชน การพัฒนาองค์การศึกษาและ ศาสนา การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล๎อม ซึ่งจะเป็นภาพของการ

            พัฒนาชุมชนตามลําดับขัน ที่ก๎าวหน๎าอยํางช๎า ๆ แตํมั่นคง


            4. ไม่ติดตํารา กระบวนการปฏิบัติตามแผนชุมชนที่สําคัญจะต๎องยึดถือไว๎เสมอวําต๎อง พัฒนาตามความเหมาะสมของ

            ทุนทรัพยากร ทุนเศรษฐกิจ และทุนสังคม หรือภูมิสังคมที่มีอยูํใน ชุมชนอยํางแท๎จริง ไมํลอกเลียนแบบแนวทางพัฒนา

            ของชุมชนอื่นที่ประสบความสําเร็จแล๎วโดย ไมํมีเหตุผล ขาดการพิจารณาอยํางรอบคอบ ไมํถือเสมือนหนึ่งเป็นตําราที่


            ลอกแบบได๎ การพัฒนา ที่แท๎จริงนั้นไมํควรยึดติดทฤษฎีใด ๆ ที่สร๎างโดยการกําหนดเงื่อนไขให๎คงที่ เพราะในความ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42