Page 40 - ชุดการสอน ภาคินี 08
P. 40
2. ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์
2.1 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนา
พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวทรงตระหนักวําประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกร พนฐานและเป็นอาชีพหลัก
ของประชาชนสํวนใหญํที่อาศัยอยูํในพื้นที่ชนบท พระองค์จึงได๎ราชดําเนินไปทรงเยี่ยมเยียนและศึกษาความเป็นอยูํ
ของพสกนิกรในพื้นที่ชนบท ได๎ทอดพระเนตรสภาพภูมิประเทศที่ทุรกันดาร และทรงรับทราบปัญหาความทุกข์ ซึ่ง
นําไปสูํพระบรมราชวินิจฉัยในปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก๎ปัญหาที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลตํอการพัฒนา
ประเทศอยํางยั่งยืน โดยพระราช แนวพระราชดําริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ที่เน๎นการพัฒนาให๎ประชาชนและชุมชน
ชนบทมีความเป็นอยูํละสามารถพึ่งตนเองได๎ โดยมีแนวทางการพัฒนาสูํความยั่งยืนได๎อยํางแท๎จริง ดังนี้
1. การพัฒนาศักยภาพคน พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวทรงให๎
ความสําคัญตํอการพัฒนาคนเป็นอยํางยิ่ง โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริในระยะแรก ๆ ล๎วนแตํเป็นการพัฒนา
สุขภาพ อนามัยและการศึกษาของประชาชน ทรงเริ่มจาก
โครงการหนํวยแพทย์พระราชทาน ซึ่งเมื่อมี การเสด็จฯ ไปทรง
เยี่ยมเยียนประชาชนในพื้นที่ภูมิภาคตําง ๆ ก็ได๎ขยายขอบขําย
โครงการออกไป กว๎างขวางในภูมิภาคตําง ๆ โดยทําหน๎าที่
นิสิตนักศึกษาที่ได๎รับทุนภูมิพล
บําบัดรักษาประชาชนที่สํวนใหญํยากจน และอบรมหมอ หมูํบ๎าน
อาสาสมัครในพื้นที่หํางไกล และพระราชทานพระราชทรัพย์ให๎จัดตั้งกองทุนให๎สร๎างศูนย์ผลิตวัคซีนปูองกันวัณโรคชนิด
หนึ่งชื่อวํา BCG (Bacillus Calmette Gueriu) ของสภากาชาดไทยรวมทั้งโครงการด๎านสาธารณสุข อีกมากมายใน
ปัจจุบัน ในด๎านการศึกษา ได๎พระราชทานพระราชทรัพย์ให๎ทหาร จัดสร๎างโรงเรียนรํมเกล๎าแกํผู๎ขาดโอกาส ในพื้นที่
หํางไกลพระราชทานโรงเรียนเจ๎า พํอหลวงอุปถัมภ์สําหรับชาวไทยภูเขา และ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์สําหรับเด็ก
ที่กําพร๎า รวมทั้งทรงจัดตั้งทุนการศึกษา สําหรับบุคคลตําง ๆ ไปเรียนตํอตําง ประเทศ เพื่อกลับมาทําประโยชน์แกํ
ประเทศชาติ ได๎แกํ ทุนภูมิพล และทุนอานันทมหิดล
นอกจากนี้ พระองค์ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจและพระราชทานพระบรมราโชวาท แกํพสกนิกร ทรงให๎
ความสําคัญตํอการสร๎างจิตสํานึกในศีลธรรมแกํประชาชน ให๎รู๎จักประมาณตน ประหยัดอดออม ไมํโลภ มีคุณธรรม
และจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความเพียรและอดทน รู๎จัก เสียสละและแบํงปันอยูํเสมอ ดังนั้น การพัฒนาคนตามแนว
พระราชดําริจึงเป็นการเสริมสร๎างศักยภาพของคนทุกมิติ ทั้งด๎านรํางกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาที่รอบรู๎ มีจิตใจ