Page 42 - ชุดการสอน ภาคินี 08
P. 42
พระองค์นับตั้งแตํ พ.ศ. 251 เป็นต๎นมา พบวํา พระองค์ทํานได๎ทรงเน๎นย้ําแนวทางการพัฒนาบนหลักแนวคิดการ
พึ่งตนเอง เพื่อให๎เกิดความพอมีพอกิน พอมีพอใช๎ของคนสํวนใหญํ โดยใช๎หลักความพอประมาณ จนสติประชาชนชาว
ไทยไมํให๎ประมาท ความมีเหตุผล การสร๎างภูมิคุ๎มกันในตัวที่ดี และทรงเตือนสติประชาชน ตระหนักถึงการพัฒนาอยําง
เป็นลําดับขั้นตอนที่ใช๎ความรู๎ คุณธรรมและความเพียรในการปฏิบัติและการดํารงชีวิต ซึ่งทั้งหมดนี้ภายหลังวิกฤต
เศรษฐกิจเป็นที่รู๎จักกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) จดหอมนา แนวพระราชดําริเศรษฐกิจ
พอเพียงนี้มาปรับแนวคิดการพัฒนาประเทศใหม เดองบ6269694 ที่ให๎ความสําคัญกับการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็น
หลักมาให๎ความสําคัญกับการพัฒนาคน ทงเน ฐานะผู๎มีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาและผู๎ได๎รับ
ประโยชนหรอผลกระทบ โดยตรงจากการพัฒนาที่มีคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและใช๎เศรษฐกิจเป็นเครื่องมือชํวย
พฒนา ให๎คนมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี พร๎อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกสํวนมาเป็น บูรณาการแบบ
องค์รวม มีกระบวนการพัฒนาที่เชื่อมโยงกันทุกมิติ และเปิดโอกาสให๎ทุกฝุาย ในสังคมมีสํวนรํวมในทุกขั้นตอนการ
พัฒนา อยํางไรก็ตาม การที่จะปฏิบัติตามแนวพระราช ดําริเศรษฐกิจพอเพียงที่ยึดคนเป็นตัวตั้งและ ใช๎เศรษฐกิจเป็น
เครื่องมือในการพัฒนาคน จําต๎องสะดุดลงตั้งแตํปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เมื่อประเทศไทยต๎องเผชิญกับวิกฤต
เศรษฐกิจและสํงผลกระทบตํอความเป็นอยูํ ของประชาชนและสังคมในวงกว๎าง ทําให๎ต๎องพระบาทสมเด็จพระ
เจ๎าอยูํหัวทรงมีพระราชดํารัส หันกลับมาเรํงแก๎ไขฟื้นฟูเศรษฐกิจให๎มีให๎ประชาชนชาวไทยตระหนักถึงความสําคัญ
เสถียรภาพ และลดผลกระทบจากปัญหาของเศรษฐกิจพอเพียงอยูํเสมอ การวํางงานและความยากจนที่เพิ่มขึ้นอยําง
รุนแรง
บทเรียนจากการพัฒนาที่ไมํสมดุลดังกลําวข๎างต๎น ได๎ทําให๎ประชาชนชาวไทยทุกระดับ ในทุก ภาคสํวนของ
สังคม ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม นักวิชาการ ย๎อนกลับมาพิจารณาและทบทวน วิถีการดําเนินชีวิตและ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาในชํวงที่ผํานมา แล๎วหันมาให๎ความสําคัญกับการพัฒนา และดํารงวิถีชีวิตตามแนวพระราชดําริ
เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว จนเกิดกลุํมนักคิดในหลายสาขา
2.2 หลักการสําคัญของระบบสหกรณ์
สหกรณ์ คือ องค์การของบรรดาบุคคลซึ่งรวมกลุํมกันโดยสมัครใจในการดําเนินวิสาหกิจ ที่พวกเขาเป็น
เจ๎าของรํวมกัน และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย เพื่อสนองความต๎องการอันจําเป็น และความหวังรํวมกันทาง
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
สหกรณ์มีความเชื่อรํวมกันที่เรียกวํา อดมการณ์สหกรณ์ โดยเชื่อวําการชํวยเหลือตนเองและ การชํวยเหลือซึ่ง
กันและกันตามหลักการสหกรณ์จะนําไปสูํการกินดี อยูํดี มีความเป็นธรรมและสุขในสังคม ทั้งนี้อุดมการณ์สูงสุดของ