Page 52 - sutthida
P. 52
สถำบันทำงกำรเงิน
ควำมหมำยของสถำบันทำงกำรเงิน
สถาบันทางการเงิน หมายถึง หน่วยงานที่ท าหน้าที่ระดมเงินออมและให้กู้ยืมแก่ผู้ที่ต้องการเงินไปเพื่อการ
บริโภค หรือเพื่อการด าเนินทางธุรกิจ
ควำมเป็นมำของสถำบันทำงกำรเงินในประเทศไทย
สถาบันการเงินประเทศไทยเริ่มขึ้นเมื่อไทยท าการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ ในสมัยรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยชาวอังกฤษได้เข้ามาตั้งธนาคารฮ่องกงและเซี้ยงไฮ้ เมื่อพ.ศ.2431
ธนาคารพาณิชย์ที่ตั้งขึ้นระยะแรกๆล้วนเป็นของชาวต่างประเทศทั้งสิ้น ใน พ.ศ. 2449 จึงมีการจัดตั้ง
ธนาคารพาณิชย์ของไทยขึ้นเป็นครั้งแรก ชื่อ แบงก์สยามกัมมาจล ทุนจ ากัด และเปลี่ยนชื่อเป็นธนาคารไทย
พาณิชย์ จ ากัด เมื่อ พ.ศ.2482
ประเภทของสถำบันทำงกำรเงิน
สถาบันทางการเงินแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1) สถาบันการเงินที่ประกอบกิจการธนาคาร
1.1) ธนาคารกลาง
1.2) ธนาคารพาณิชย์
1.3) ธนาคารเฉพาะ
2) สถาบันการเงินที่ไม่ประกอบกิจการธนาคาร
1.2.4 ธนาคารกลาง (Central Bank)
ธนาคารกลางท าหน้าที่เป็นศูนย์กลางและจัดระบบทางการเงินของประเทศ อ านวยประโยชน์แก่
เศรษฐกิจส่วนรวม ปัจจุบันประเทศต่างๆทั่วโลกส่วนใหญ่มีธนาคารกลางเป็นของตนเอง ธนาคารกลางของ
หลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยส่วนใหญ่มีแบบอย่างมาจาก ธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ (Bang of
England)
ธนาคารกลางของประเทศไทยเริ่มด าเนินการ เมื่อ พ.ศ.2483 ชื่อธนาคารชาติไทย ตั้งอยู่ใน
พระบรมมหาราชวัง ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2485 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bang of Thailand
หรือเรียกย่อๆว่า BOT) ช่วงแรกได้เช่าธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ ถนนสี่พระยา เป็นที่ท าการชั่วคราวจนถึง
พ.ศ.2488 จึงย้ายไปที่วังบางขุนพรหม ต่อมาได้สร้างอาคารส านักงานขึ้นใหม่ในบริเวณวังบางขุนพรหม เปิด
ใช้เมื่อ พ.ศ.2525 ธนาคารแห่งประเทศไทย ด าเนินการตามพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ.
2485 มีฐานะเป็นองค์การอิสระอยู่ภายใต้การก ากับการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
2) เป็นนายธนาคารของรัฐบาล ธนาคารแห่งประเทศไทยท าหน้าที่เป็นนายธนาคารดังต่อไปนี้
2.1) เป็นผู้รักษาเงินฝากของรัฐบาล
2.2) เป็นผู้ให้กู้ยืมแก่รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ
2.3) เป็นตัวแทนทางการเงินของรัฐบาล