Page 86 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 86
85
กฎกระทรวงให้รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ออกเงิน สมทบเข้ากองทุนเพื่อ
การจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณีว่างงาน ตาม อัตราที่
ก าหนดในกฎกระทรวง
2.2 ทุกครั้งที่มีกำรจ่ำยค่ำจ้ำง ให้นายจ้างหักค่าจ้างของผู้ประกันตนตามจ านวน
ที่ต้องน าส่ง เป็นเงินสมทบในส่วนของผู้ประกันตนตามข้อ 2.1 และเมื่อนายจ้างได้ด าเนินการ
ดังกล่าวแล้วให้ถือว่า ผู้ประกันตนได้จ่ายเงินสมทบแล้วตั้งแต่วันที่นายจ้างหักค่าจ้าง
3. ประโยชน์ทดแทน ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนจากกองทุน
ดังต่อไปนี้ 3.1 กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอันมิใช่เนื่องจากการท างาน มีดังนี้
3.1.1 มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนต่อเนื่องภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนวันรับบริการ ทาง
การแพทย์ ผู้ประกันตนได้จ่ายเงินสมทบมาแล้วรวมได้ 3 เดือน (มาตรา 62)
3.1.2 กำรประสบอันตรำยหรือกำรเจ็บ ป่วยนั้น ต้องมิได้เกิดขึ้นเพราะเหตุที่
ผู้ประกันตนจงใจก่อให้เกิดขึ้น หรือ ยินยอมให้ผู้อื่นก่อให้เกิดขึ้น (มาตรา 61)
3.1.3 ได้รับกำรบริกำรจำกทำงแพทย์เพื่อ การรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล
ที่ก าหนดไว้
3.1.4 ได้รับเงินทดแทนกำรขำดรำยได้ เพราะต้องหยุดงานตามค าสั่งแพทย์
เท่ากับร้อยละ 50 ของค่าจ้างที่ 1 ค านวณเป็นเงินสมทบ ครั้งหนึ่งไม่เกิน 90 วัน และใน 1 ปี ไม่
เกิน 180 วัน เว้นแต่เจ็บป่วยเรื้อรังไม่เกิน 365 วัน
3.2 กรณีคลอดบุตร มีดังนี้
3.2.1 มีสิทธิเมื่อผู้ประกันตนมีครรภ์ หรือภริยา หรือหญิงซึ่งอยู่กินด้วยกันฉัน
สามีภริยา โดยเปิดเผยของผู้ประกันตนมีครรภ์ และเมื่อภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนวันรับ
บริการทางการแพทย์ ผู้ประกันตนได้จ่ายเงินสมทบมาแล้วรวมได้ 7 เดือน (มาตรา 65)
3.2.2 มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนส าหรับการคลอดบุตรไม่เกิน 2 ครั้ง (มาตรา
65) โดยได้รับเป็นค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย จ านวน 13,000 บาท ต่อครั้ง ในกรณีต้องหยุดงาน
เพื่อการคลอดบุตร มีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเป็นการเหมาจ่ายในอัตราครั้งละ ร้อย
ละ 50 ของค่าจ้างเป็นระยะเวลา 90 วัน (มาตรา 67)
3.2.3 กรณีผู้ประกันตนเป็นชำยเป็นผู้ขอรับประโยชน์ทดแทน จะมีสิทธิได้รับ
ประโยชน์บาท ต่อครั้งเท่านั้น ไม่มีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อ ทดแทนเป็นค่า
คลอดบุตรเหมาจ่าย 13,000 บาท ต่อครั้งเท่านั้น ไม่มีสิทธิได้รับเงินสงเครา การลาคลอดอีก