Page 83 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 83

82








                          2.2.4 สวัสดิกำร

                          2.2.5 กำรเลิกจ้ำง

                          2.2.6 กำรยื่นเรื่องรำวร้องทุกข์ ของลูกจ้าง

                          กำรแก้ไขเพิ่มเติม หรือการต่ออายุข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

                          2.3 ระยะเลำกำรใช้ข้อตกลงเกี่ยวกับสภำพกำรจ้ำง ให้เป็นไปตามที่นายจ้าง

           และลูกจ้างได้ ตกลงกัน แต่จะตกลงกันให้มีเหตุผลใช้บังคับเกินกว่า 3 ปี ไม่ได้ และถ้าไม่ได้ตกลง

           ระยะเวลาไว้ให้ถือว่ามีผลใช้บังคับ เพียง 1 ปี นับแต่วันที่นายจ้างและลูกจ้างได้ตกลงกันหรือนับ

           แต่วันที่นายจ้างรับลูกจ้างเข้าท างานแล้วแตก

                          2.4 กำรขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อตกลงเกี่ยวกับสภำพกำรจ้ำง นายจ้าง หรือลูกจ้าง

           ต้องแจ้ง ข้อเรียกร้องเป็นหนังสือไปยังอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อเจรจากันต่อไป (มาตรา 13 วรรคหนึ่ง)

                          2.5 ผู้แจ้งข้อเรียกร้อง ในกรณีที่นายจ้างเป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้องนั้น นายจ้างต้อง

           ตั้งผู้แทน เข้าร่วมเจรจาแทนตน ผู้แทนนั้นจะต้องอยู่ในต าแหน่งกรรมการผู้ถือหุ้นหรือเป็น
           หุ้นส่วนหรือลูกจ้างประจ าของ นายจ้าง เช่น ผู้อ านวยการ ผู้จัดการสมุห์บัญชี เป็นต้น โดยมี

           จ านวนไม่เกิน 7 คน (มาตรา 13 วรรคสอง) ในกรณี ที่ลูกจ้างเป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้องลูกจ้างต้องมี

           ลูกจ้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของลูกจ้างทั้งหมด ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ข้อเรียกร้องนั้นเช่น สถาน
           ประกอบการมีลูกจ้าง 200 คน ลูกจ้างจะต้องรวบรวมรายชื่อและลายมือชื่อลูกจ้าง ไม่น้อยกว่า 30

           คน จึงจะถือว่าเป็นข้อเรียกร้องที่ถูกต้อง

                          2.6 กำรรับข้อเรียกร้องและกำรเจรจำ มาตรา 16 ได้ก าหนดให้ฝ่ายที่ได้รับข้อ

           เรียกร้อง แจ้งชื่อตนเองหรือผู้แทนเป็นหนังสือให้ฝ่ายที่แจ้งข้อเรียกร้องทราบโดยมิชักช้า และให้

           ทั้งสองฝ่ายเริ่มเจรจากัน ภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ได้รับข้อเรียกร้อง

                          2.7 กำรท ำข้อตกลงเกี่ยวกับสภำพกำรจ้ำงและการจดทะเบียนข้อตกลงนั้น

           มาตรา 18 ก าหนดให้ท าข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ตกลงกันได้เป็นหนังสือลงลายมือชื่อ
           นายจ้าง หรือผู้แทนนายจ้าง และผู้แทนลูกจ้าง หรือกรรมการของสหภาพแรงงาน แล้วแต่กรณี

           และให้นายจ้างประกาศข้อตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจ้างโดยเปิดเผยไว้ ณ สถานที่ที่ลูกจ้างซึ่ง

           ท างานอยู่เป็นเวลาอย่างน้อย 30 วัน พร้อมกับนายจ้าง น าข้อตกลงดังกล่าวไปจดทะเบียนต่อ

           อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ตกลงกันได้

                          2.8 ห้ำมท ำสัญญำขัดแย้งกับข้อตกลง มาตรา 20 ได้วางหลักเกณฑ์ไว้ว่า เมื่อ
           ข้อตกลง เกี่ยวกับสภาพการจ้างมีผลใช้บังคับแล้วห้ามมิให้นายจ้างท าสัญญาจ้างแรงงานกับ

           ลูกจ้างขัดหรือแย้งกับข้อ ตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง เว้นแต่สัญญาจ้างแรงงานนั้นจะเป็นคุณแก่
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88