Page 78 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 78
77
(2) ยื่นต่อพนักงำนตรวจแรงงำนในท้องที่ที่ลูกจ้างท างานอยู่ หรือที่นายจ้าง มี
ภูมิล าเนา หรือท้องที่ที่ลูกจ้างมีภูมิล าเนาอยู่ก็ได้
(3) กำรพิจำรณำค าร้องทุกข์ของพนักงานตรวจแรงงาน
(4) เร่งสอบสวนข้อเท็จจริงจากนายจ้าง ลูกจ้าง และพยานโดยเร็ว รวมทั้งการ
รวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องด้วย
(5) เมื่อสอบสวนข้อเท็จจริงแล้ว ต้องมีค าสั่งให้นายจ้างจ่ายเงิน หรือยกค าร้อง
ทุกข์ของลูกจ้างอย่างใดอย่างหนึ่ง
6) กำรรวบรวมข้อเท็จจริง และการมีค าสั่งต้องกระท าให้เสร็จภายใน 60 วัน นับ
แต่วันรับค าร้องทุกข์ไว้ด าเนินการ
(7) ถ้ำไม่สำมำรถด ำเนินกำรให้เสร็จภายใน 60 วัน ให้ขอขยายระยะเวลาต่อ
อธิบดี หรือผู้ว่าราชการจังหวัดโดยขอขยายระยะเวลาได้ไม่เกิน 30 วัน
(8) กำรยุติข้อร้องทุกข์ระหว่างสอบสวนข้อเท็จจริง
(9) ลูกจ้ำงสละสิทธิการเรียกร้องทั้งหมด
(9.1) ลูกจ้ำงสละสิทธิเรียกร้องแต่บำงส่วน นายจ้างยินยอมจ่ายเงินบางส่วน
แก่ลูกจ้าง
(9.2) นำยจ้ำงยินยอมจ่ายเงินทั้งจ านวนแก่ลูกจ้าง
4.7 บทก ำหนดโทษ มีดังนี้
4.7.1 กฎหมำยคุ้มครองแรงงานเป็นกฎหมายที่มีบทลงโทษทางอาญา
4.7.2 นำยจ้ำงผู้ใดฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำม
(1) ขั้นต ่ำปรับไม่เกิน 5,000 บำท
(2) จ ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
(3) กำรปฏิบัติตำมค ำสั่งของพนักงำนตรวจแรงงานคดีอาญา เป็นอันระงับ
(4) กำรฝ่ำฝืนกฎหมำย
(4.1) อธิบดีมีอ ำนำจเปรียบเทียบปรับส าหรับความผิดที่เกิดขึ้นในกรุงเทพฯ
(4.2) ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด มีอ านาจเปรียบเทียบปรับส าหรับความผิดที่ เกิดขึ้น
ภายในจังหวัด
(4.3) ช ำระค่ำปรับภำยใน 30 วัน นับจากที่ได้รับแจ้งผลคดี คดีอาญา เป็น อัน
เลิกกัน