Page 73 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 73

72








                          (4) ลูกจ้ำงซึ่งท างานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี มีสิทธิ ได้รับค่าชดเชย
           เท่ากับอัตราค่าจ้างสุดท้าย 240 วัน


                          (5) ลูกจ้ำงซึ่งท างานติดต่อกันครบ 10 ปีขึ้นไป มีสิทธิได้รับค่าชดเชย เท่ากับ
           อัตราค่าจ้างสุดท้าย 300 วัน


                          4.1.16.2 ในกรณีที่นำยจ้ำงจะ เลิกจ้างลูกจ้างเพราะสาเหตุปรับปรุงหน่วยงาน
           กระบวนการ ผลิตการจ าหน่าย หรือการบริการอันเนื่องมาจากการน า เครื่องจักรมาใช้หรือ

           เปลี่ยนแปลงเครื่องจักรหรือเทคโนโลยี ซึ่ง เป็นเหตุให้ต้องลดจ านวนลูกจ้างลง นายจ้างต้อง

           ปฏิบัติ ดังนี้

                          (1) แจ้งวันที่จะเลิก จ้ำง เหตุผลของการเลิกจ้าง และรายชื่อลูกจ้างที่จะถูกเลิก

           จ้าง ให้ลูกจ้างและพนักงานตรวจแรงงานทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า หกสิบวันก่อนวันที่จะเลิกจ้าง

                          (2) ถ้ำไม่แจ้งแก่ลูกจ้ำงที่จะเลิกจ้างทราบล่วงหน้า หรือแจ้งล่วงหน้า น้อยกว่า

           ระยะเวลาหกสิบวัน นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าแก่ลูกจ้างเท่ากับ
           ค่าจ้างอัตราสุดท้ายหกสิบวันหรือเท่ากับค่าจ้างของการท างานหกสิบวันสุดท้าย ส าหรับลูกจ้างซึ่ง

           ได้รับค่าจ้าง ตามผลงานโดยค านวณเป็นหน่วย ค่าชดเชยแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ให้ถือว่า

           นายจ้างได้จ่ายค่าสินจ้าง แทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามกฎหมายด้วย นายจ้างต้องจ่าย
           ค่าชดเชยพิเศษเพิ่มขึ้นจากค่าชดเชยปกติ


                          (3) ในกรณีที่นำยจ้ำงย้ายสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ ที่อื่นอัน มีผลกระทบ
           ส าคัญต่อการด ารงชีวิตตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัว

                          (4) นำยจ้ำงต้องแจ้งล่วงหน้าให้แก่ลูกจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า สามสิบวัน

           ก่อนย้าย ถ้าลูกจ้างไม่ประสงค์จะไปท างานด้วยลูกจ้างมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจ้างได้โดยได้รับ

           ค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของอัตราค่าชดเชยปกติที่ลูกจ้างจึงมีสิทธิได้รับ

                          (5) ถ้ำนำยจ้ำงไม่แจ้งให้ลูกจ้างทราบการย้ายสถานประกอบกิจการล่วงหน้า

           นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามสิบวัน
           ข้อยกเว้นที่นำยจ้ำงไม่ต้องจ่ำยค่ำชดเชย


                          ลูกจ้ำงไม่มีสิทธิได้รับค่ำชดเชยในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังนี้

           (1) ลูกจ้ำงลำออกเอง

           (2) ทุจริตต่อหน้ำที่หรือกระท ำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง

           (3) จงใจท ำให้นำยจ้ำงได้รับความเสียหาย


           (4) ประมำทเลินเล่อเป็นเหตุให้นำยจ้ำงได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78