Page 68 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 68
67
ผลประโยชน์อันพึงมี จึงได้ตามกฎหมายอื่น
32 กรณีนำยจ้ำงผิดนัดช ำระหนี้ให้แก่ลูกจ้ำง (มาตรา 9) ถ้านายจ้างไม่คืนเงิน
ประกัน ไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าท างานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุด ภายในเวลาที่
ก าหนด หรือไม่จ่าย ค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษ ให้นายจ้างเสียดอกเบี้ยให้แก่ลูกจ้างในระหว่าง
ผิดนัดร้อยละ 15 ต่อปี
3.3 กำรเรียกหรือกำรรับเงินประกันการท างานจากลูกจ้าง (มาตรา 10) ห้าม
เรียก เงินประกันจากลูกจ้าง เว้นแต่ลูกจ้างจะท างานเกี่ยวกับการเงินและทรัพย์สินของนายจ้าง
เพื่อป้องกันมิให้นายจ้าง แสวงหาประโยชน์จากลูกจ้างในทางมิชอบ จ านวนเงินประกันดังกล่าว
จะต้องไม่เกิน 60 เท่าของอัตราค่าจ้าง รายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจ้างได้รับอยู่ในวันที่นายจ้างรับเงิน
ประกัน และมาตรา 51 ห้ามนายจ้างเรียกหรือ รับเงินประกันจากลูกจ้างซึ่งเป็นเด็กโดยเด็ดขาด
3.4 ควำมรับผิดชอบของผู้รับเหมาขั้นต้นกับผู้รับเหมาช่วง (มาตรา 12) กรณีที่
นายจ้าง เป็นผู้รับเหมาช่วง ให้ผู้รับเหมาช่วงถัดขึ้นไปจนถึงผู้รับเหมาชั้นต้นร่วมรับผิดกับ
ผู้รับเหมาช่วงซึ่งเป็นนายจ้างใน ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าท างานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด
ค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษ เงินสะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่ม และให้ผู้รับเหมาชั้นต้น หรือ
ผู้รับเหมาช่วงดังกล่าวมีสิทธิไล่เบี้ยเงินที่ได้จ่ายไปแล้วคืนจากผู้รับเหมา ช่วงซึ่งเป็นนายจ้าง
3.5 กำรเปลี่ยนแปลงตัวนำยจ้ำง (มาตรา 13) กิจการใดมีการเปลี่ยนแปลงตัว
นายจ้าง เนื่องจากการโอนรับมรดก หรือด้วยประการอื่นใดหรือในกรณีนายจ้างเป็นนิติบุคคล มี
การเปลี่ยนแปลงโอน หรือ ควบนิติบุคคล สิทธิต่าง ๆ ที่ลูกจ้างมีอยู่ต่อนายจ้างเดิมเช่นใด ให้
ลูกจ้างมีสิทธิเช่นว่านั้นต่อไป และให้นายจ้าง ใหม่รับไปทั้งสิทธิและหน้าที่อันเกี่ยวกับลูกจ้างทุก
ประการ
3.6 นำยจ้ำงต้องปฏิบัติต่อลูกจ้ำงชายและ หญิงโดยเท่าเทียมกัน (มาตรา 15)
ให้นายจ้างปฏิบัติต่อ ลูกจ้างชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงานเว้นแต่ลักษณะหรือ
สภาพของงานไม่อาจปฏิบัติเช่นนั้นได้ ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับบัญญัติรัฐธรรมนูญที่ก าหนดให้
ชายและหญิง มีสิทธิเท่าเทียมกัน
3.7 ห้ำมนำยจ้ำงล่วงเกินทางเพศต่อลูกจ้าง ซึ่งเป็นหญิงหรือเด็ก (มาตรา 16)
ห้ามนายจ้าง หัวหน้างาน ผู้ควบคุม หรือผู้ตรวจงาน กระท าการล่วงเกินทางเพศ ต่อลูกจ้างซึ่ง
เป็นหญิงหรือเด็ก โดยการกล่าวถ้อยค าหยาบคายวิพากษ์วิจารณ์ทางเพศ ลวนลาม ซึ่งพฤติกรรม
บางอย่างไม่ รุนแรงถึงขั้นอนาจาร แต่ไม่เหมาะสมที่จะปฏิบัติต่อลูกจ้างหญิงและเด็ก
3.8 นำยจ้ำงต้องปฏิบัติต่อลูกจ้ำงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 14) และการ