Page 66 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 66
65
เครื่องนุ่งห่ม หรือช่วยเหลือเกื้อกูลอย่างอื่น ๆ แต่ไม่รับผิดชอบ ในเรื่องการจ่ายค่าแรงให้ตาม
กฎหมาย
1.2 ลูกจ้ำง ได้แก่ ผู้ที่ปฏิบัติงานให้กับสถานประกอบการ โดยได้รับเงินเดือนหรือ
ค่าจ้างเป็น ประจ าตั้งแต่ระดับผู้บริหาร นักวิชาการ เสมียน พนักงานต่าง ๆ เช่น ผู้จัดการ
ผู้อ านวยการ ผู้ปฏิบัติงานใน ห้องทดลอง พนักงานขาย และลูกจ้างที่ท างานในกรรมวิธีการผลิต
เป็นต้น ค่าจ้างที่ได้รับอาจเป็นรายปักษ์ รายสัปดาห์ รายวัน รายชั่วโมง หรือรายชิ้นก็ได้
นอกจากนี้ยังรวมถึงผู้ที่สถานประกอบการส่งไปประจ าที่สถาน ประกอบการอื่นด้วย เช่น
พนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานท าความสะอาด พนักงานขายตามห้าง สรรพสินค้า เป็น
ต้น ไม่รวมคนท างานดังต่อไปนี้
(1) ผู้บริหำรหรือผู้ถือหุ้นที่ได้รับเบี้ยประชุมเป็นครั้งคราว (2) คนท างานของ
สถานประกอบการอื่นที่มาปฏิบัติงานประจ าที่สถานประกอบการแห่งนี้
(3) คนท ำงำนที่รับงำนไปท ำ ที่บ้านแล้วน ามาส่งโดยไม่ได้ลงทุนซื้อวัสดุ อุปกรณ์
(แต่ถ้ามีการใช้เครื่องมือส่วนตัวเล็กน้อยก็ได้ เช่น มีด เข็ม ด้าย)
(4) คนงำนที่ลำงำนเป็น ระยะยาว เช่น ลาไปรับราชการทางทหาร
(5) คนที่สถำนประกอบกำร จ้างมาท างานเฉพาะอย่างเป็นครั้งคราว เช่น
กรรมกร ที่จ้างมาขนของ พนักงานเดินตลาดหรือตัวแทนขาย
1.3 ควำมหมำยของนำยจ้ำงตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
ปรับปรุงแก้ไข พ.ศ. 2551
“นำยจ้ำง” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้างเข้าท างานโดยจ่ายค่าจ้างให้ และ
หมายความ รวมถึง
(1) ผู้ซึ่งได้รับมอบหมำยให้ท ำงำนแทนนำยจ้ำง
(2) ในกรณีที่นำยจ้ำงเป็นนิติบุคคลให้หมายความรวมถึงผู้มีอ านาจกระท าการ
แทนนิติบุคคล และผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้มีอ านาจกระท าการแทนนิติบุคคลให้ท าการแทน
ด้วย
1.4 ผู้ประกอบกำร หมายถึง บุคคลหรือคณะบุคคลที่ร่วมกัน มีความคิดริเริ่ม
ประกอบกิจการ เป็นของตนเองอาจจะอยู่ในรูปของธุรกิจการผลิต ธุรกิจการจัดจ าหน่าย ธรกิจ
บริการ โดยมีการวางแผนการ ด าเนินงานและรับภาระความเสี่ยง เพื่อตอบสนองความต้องการ
ของมนุษย์ให้เกิดความพอใจ โดยหวังผลตอบแทน ในรูปของก าไร