Page 61 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 61

60







           ปฏิบัติงาน ให้ บรรลุเป้าหมายหรือแผนงานที่ก าหนดไว้มากกว่า ผลงานในองค์กรและการ
           ควบคุม


                          4.3 บทบำทของผู้บริหำร สำมำรถจัดแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ

                          4.3.1 บทบำทควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล (Interpersonal roles)

           ได้แก่ บทบาท ความเป็นหัวหน้าทีม เช่น ประธานในพิธีการต่าง ๆ บทบาทการแสดงออกใน
           ฐานะผู้น า ได้แก่ การจ้างงาน การอบรม การกระตุ้นจูงใจและการรักษาระเบียบวินัยของ

           ผู้ใต้บังคับบัญชา ส่วนบทบาทสุดท้ายคือ บทบาท

                          กำรประสำนงำนในกลุ่มได้แก่การกระท ากิจกรรมซึ่งต้องสัมพันธ์กับบุคคลหรือ

           กลุ่มที่อยู่ภายในและภายนอกองค์กร เช่น ผู้จัดการฝ่ายการตลาดขอข้อมูลด้านก าลังคนจาก

           ผู้จัดการฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นการติดต่อ ประสานงานกันภายในองค์กร แต่หาก
           ผู้จัดการฝ่ายการตลาดติดต่อสื่อสารกับพนักงานของบริษัทอื่นก็ถือเป็นการ ประสานงานกัน

           ภายนอกองค์กร เป็นต้น

                          4.3.2 บทบำทด้ำนกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำร (Informational

           roles) ผู้บริหาร มีหน้าที่หรือบทบาทในการรับและเก็บข้อมูลข่าวสารจากภายในและภายนอก

           องค์กรของตน กระท าได้แก่ การอ่านวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ แล้วน ามาแลกเปลี่ยนกับ
           ผู้บริหารคนอื่นๆ เช่น องค์กรคู่แข่งขัน มีการวางแผนอะไรในช่วงนี้ รัฐออกกฎหมายใหม่มี

           ผลกระทบต่อบริษัทหรือไม่? เพื่อท าหน้าที่ถกเถียงและ เจราจาต่อรองกับกลุ่มอื่น ๆ ซึ่งอาจจะ

           เป็นสหภาพแรงงาน ผู้ถือหุ้นฯลฯ ในการเพิ่มผลประโยชน์ให้กับองค์กร ที่ตนท างานอยู่

                          4.4 ทักษะกำรจัดกำร พบว่ำผู้บริหำรต้องกำรทักษะกำรจัดกำร

           (Management Skills) พื้นฐาน หรือ ความสามารถใน 3 ด้าน คือ เทคนิคงาน และ
           ความคิด ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน น้อยมากตามล าดับการบริหารภายใน องค์กร


                          4.4.1 ทักษะด้ำนเทคนิคงำน (Technical skills) ผู้บริหารระดับต้นมี
           ทักษะด้านนี้ มากกว่าผู้บริหารระดับกลางและระดับสูง เรียกว่า “ต้องมีเทคนิคในการท างาน

           มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อ จะได้สามารถสอนและควบคุมการท างาน” ทักษะด้านเทคนิคงาน

           นี้จะรวมถึงความรู้เฉพาะวิชาที่เรียนมาด้วย เช่น วิศวกรรม คอมพิวเตอร์ การเงินหรือ
           อุตสาหกรรม ฯลฯ


                          4.4.2 ทักษะด้ำนคน (Human skills) เรียกอีกอย่างว่าด้านมนุษย์สัมพันธ์
           มีความ ส าคัญต่อผู้บริหารทั้ง 3 ระดับเท่า ๆ กัน ผู้บริหารทักษะด้านคนอย่างดีเยี่ยมย่อมมี

           ความสามารถในการสื่อสาร ชักจูง
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66