Page 67 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 67
66
จากหัวขอที่กล่าวข้างต้นในเรื่องของความหมายของคนท างานในลักษณะที่
แตกต่างกันในที่นี้ สรุปได้ว่า “คนท างาน” จะหมายถึง นายจ้างกับลูกจ้าง หรือพนักงานกับ
นายจ้าง เพื่อที่จะท าให้เข้าใจในเรื่อง สิทธิหน้าที่ของคนท างาน ตามพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
ดังนี้
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน 2541 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551
พระรำชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเป็นธรรมใน
สังคมระหว่างนายจ้าง และลูกจ้าง บัญญัติถึงสิทธิหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างโดยก าหนด
มาตรฐานขั้นต ่า ในการใช้แรงงาน การจ่ายค่าตอบแทนในการท างานซึ่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงานจะมีผลใช้บังคับได้ ก็ต่อเมื่อเกิดสัญญาจ้างแรงงานขึ้นแล้ว นายจ้างและลูกจ้างจะมีสิทธิ
หน้าที่ต่าง ๆ ปฏิบัติต่อกัน ซึ่งเรียงล าดับ ความส าคัญได้ ดังนี้
1. กฎหมำยว่ำด้วงสัญญำจ้ำงแรงงำน คือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ 3 เอกเทศสัญญาลักษณะ 6 จ้างงาน ตั้งแต่มาตรา 575 ถึงมาตรา 586 เริ่มใช้บังคับเมื่อ
วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2472 ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้าง ลูกจ้าง เมื่อบุคคลท าการเสนอ
และค าสนองถูกต้องตรงกันก็ เป็นสัญญาขึ้น ส่วนจะเกิดเป็นสัญญาอะไรก็ขึ้นอยู่กับมีค าเสนอค า
สนองในเรื่องอะไร เมื่อมีค าสนองเกี่ยวกับ การจ้างแรงงานก็เกิดเป็นสัญญาจ้างแรงงานขึ้น
กฎหมายว่าด้วยสัญญาจ้างแรงงานนี้ย่อมใช้บังคับกับลูกจ้างใน ทุกหน่วยงานทั้งเอกชน และ
ราชการตลอดจนรัฐวิสาหกิจด้วย เพียงแต่ไม่ใช้บังคับกับข้าราชการ เพราะการ เริ่มต้นของการ
เป็นข้าราชการนั้น เป็นการบรรจุแต่งตั้งตามกฎหมาย
2. ลักษณะของสัญญำจ้ำงแรงงำน “สัญญาจ้างแรงงาน” คือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่ง
เรียกว่าลูกจ้างตกลงจะท างานให้แก่บุคคลอีกบุคคลหนึ่ง เรียกว่านายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้
สินจ้าง ตลอดเวลาที่ท างานให้ จากบทบัญญัติมาตรา 575 สัญญาจ้างแรงงานมีลักษณะ ดังนี้
(1) คู่สัญญำ เรียกว่า ลูกจ้าง และนายจ้าง
(2) เป็นสัญญำต่ำงตอบแทน โดยลูกจ้างตกลงท างานให้นายจ้าง ส่วนนายจ้าง
ตกลงให้สินจ้าง (ค่าจ้าง) ตลอดเวลาที่ลูกจ้างท างานให้เรื่องการจ้างแรงงานจะรวมไปถึงการจ้าง
ในเรื่องความรู้ความสามารถด้วย เช่น จ้างเภสัชกรประจ าร้านขายยา หรือจ้างที่ปรึกษาบริษัท
เป็นต้น
3. กำรคุ้มครองแรงงำนทั่วไป บัญญัติอยู่ในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 มาตรา 7 ถึงมาตรา 22 กล่าวโดยสรุปดังนี้
3.1 ลำอ้ำงยังมีสิทธิหรือประโยชน์ตำมกฎหมำยอื่น (มาตรา 7) แม้ลูกจ้างจะใช้
สิทธิ เรียกร้องหรือได้มาซึ่งสิทธิหรือประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้ ลูกจ้างก็ยังคงมีสิทธิหรือ