Page 177 - report-06-final-ลายนำ_Neat
P. 177
้
่
ส่วนที ๔ หนา ๑๖๗
่
ิ
ั
ี
ิ
์
้
่
็
้
ทังนี ราชวทยาลัยจิตแพทย ได้ให้ความเห็นไว้เกยวกบการใช้กญชาเปนยาเสรม โดยจากข้อบงชี ้
ั
ุ
์
ของกรมการแพทย ระบว่า การใช้กญชาเพือลดระดับความเจ็บปวดทีรนแรงของคนไข้ได้ดี ได้แก ่
ั
ุ
่
่
็
่
้
่
้
โรคลมชักทีดือยาหลัก โรคเกรงในปลอกหุมประสาทอักเสบ ปวดระบบประสาท การคลืนไส้
ิ
ํ
่
อาเจียนทีเกดจากการได้รบยาจากเคมบาบัด และโรคผอมแห้งแรงน้อยจากการติดเชือ HIV
ี
้
ั
ระยะรนแรง
ุ
๒. พชกระท่อม
ื
สําหรบพืชกระท่อมนัน ได้มการใช้มาอยางยาวนานเป็นส่วนหนึงของวิถีชุมชน
ี
่
้
ั
่
ุ
่
ั
่
โดยเฉพาะกลมผูใช้แรงงานซึงใช้กนมากประกอบกบมความเชือมโยงกบการแพทยแผนไทยทีใช้
์
ั
้
่
ี
่
ั
ู
ี
ั
ิ
พืชกระท่อมเป็นยารักษาโรค โดยภาคเกษตรกรและภมปญญาท้องถินมการนํามาใช้ เช่น การนํา
่
ั
ั
ํ
ั
้
ใบกระท่อมสดมารบประทานกบน้าตาลเพือแกอาการไอ และรับประทานใบกระท่อมทุกเช้ากบ
่
ึ
่
ั
ั
้
ั
่
็
่
น้ารอนเพือรกษาโรคเบาหวาน เปนต้น ซึงปจจุบนได้มการเพาะปลูกและทําการศกษาวิจัยอยาง
ี
ํ
ั
ิ
ิ
จรงจังที จังหวัดสุราษฎรธานี และเปนทีทราบกนดีว่าการบรโภคกระท่อมเป็นวิถีชาวบ้าน
่
่
็
์
ู
้
่
่
เกษตรกรในพืนทีภาคใต้ เพราะหากบริโภคอยางถกต้องจะไมส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
่
่
ู
ิ
ซึงแตกต่างจากเครองดืมแอลกอฮอล์ทีส่งผลเสียต่อสุขภาพของผบรโภค จึงไมควรห้ามการปลูก
่
้
่
่
่
ื
ั
พืชกระท่อม แต่อาจจะกาหนดให้มมาตรการปองกน ควบคมปรมาณการนําใบกระท่อมมาผสม
้
ํ
ุ
ี
ิ
่
กับสารเสพติดอืนทีอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เนืองจากพระราชบัญญัติดังกล่าวยังคง
่
่
่
ํ
็
็
กาหนดให้ “พืชกระท่อม” เปนยาเสพติดให้โทษ แต่พืชกระท่อมไมถือเปนยาเสพติดตาม
กฎหมายยาเสพตดระหวางประเทศ คอ อนุสัญญาเดียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. ๑๙๖๑
ิ
่
่
ื
้
(Single Convention on Narcotic Drugs, 1961) และพืชกระท่อมมีผลกระทบต่อผูเสพหรือ
้
่
ื
ิ
ิ
้
ผูบรโภคน้อยกว่ายาเสพติดให้โทษอืน ๆ อีกทังการบรโภคใบกระท่อมเป็นวิถีหรอวัฒนธรรมของ
คนในชุมชนท้องถินต่าง ๆ โดยเฉพาะในจังหวัดภาคใต้
่
ี
๓. กฎหมายทเกียวของ
่
่
้
ิ
ั
ี
ั
เมอพระราชบญญัติยาเสพตดให้โทษ (ฉบบที ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มผลใช้บงคบ การ
ื
่
ั
ั
่
ั
ั
็
ี
ุ
ควบคมกญชา กญชง และพืชกระท่อม ถือเปนยาเสพติดประเภท ๕ มผลทําให้การผลิต การ
นําเขา และการส่งออก จะต้องได้รบอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาโดย
ั
้
ื
ี
ความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคมยาเสพติดให้โทษ ส่วนการจําหน่าย หรอมไว้
ุ
ั
ครอบครองจะต้องได้รบอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา และกรณีการ
่
่
นํามาใช้เพือประโยชน์ทางการแพทย์ การใช้ประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ หรือเพือการศึกษาวิจัย
็
่
ื
่
์
ั
สามารถทําได้โดยไมต้องผ่านความเห็นชอบจากหน่วยงานใด กล่าวคอ เปนวัตถุประสงคทีได้รบ
่
่
ู
้
ยกเว้นตามกฎหมายฉบบนีอยแล้ว อยางไรกตาม หากนําไปเสพจะต้องมคาสังของแพทยผูรักษา
ั
้
ี
ํ
์
่
็
่
ี
ั
่
เท่านัน ข้อมลด้านกฎหมายทีเกยวข้องกบการผลกดันและสนับสนุนให้กญชา กญชง และพืช
้
ู
ั
ั
ั
ุ
กระท่อม นํามาใช้เพือประโยชนทางการแพทยได้ ซึงมรายละเอียดสรปได้ดังนี ้
่
์
่
ี
์