Page 180 - report-06-final-ลายนำ_Neat
P. 180

้
                                                                                                ่
               หนา ๑๗๐                                                                     ส่วนที ๔




                                                                                                 ็
                                         ่
                                                                                              ื
                                                                    ้
                                                              ่
                                               ั
               เสพ เว้นแต่จะเป็นการเสพเพือการรกษาโรคตามคําสังของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรอเปน
               การเสพเพือศกษาวิจัย โดยมข้อมลจากสํานักงานคณะกรรมการป้องกนและปราบปรามยาเสพ
                         ่
                                                                             ั
                                             ู
                                         ี
                           ึ
                                                                               ่
               ติด ได้มาขออนญาตครอบครองต้นกระท่อม จํานวน ๑,๕๗๘ ต้น เพือนําไปใช้ในโครงการ
                              ุ
               ศกษาวิจัย เรอง การพัฒนารูปแบบการควบคุมพืชกระท่อมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนใน
                 ึ
                            ื
                            ่
                                                            ํ
                                         ่
                                      ้
                             ่
                                                            ้
                                              ึ
                               ํ
                                                                                               ์
               ประเทศไทย ซึงกาหนดพืนทีการศกษา ณ ตําบลนาพุ อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
                                                                       ้
                               ่
                   ้
                                                                                                ้
               ทังนี มงานวจัยทีได้รบอนุญาตจากคณะกรรมการอาหารและยา จํานวน ๓ ราย ซึงขณะนีอย         ู ่
                      ี
                                  ั
                          ิ
                 ้
                                                                                         ่
                           ึ
               ระหว่างการศกษาวิจัย ดังนี้
                                                                           ื
                                                                           ่
                                                  ์
                            ๑) คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรอง “แถบรหัสดีเอ็นเอของ
                                                      ็
                        ุ
               พืชในสกล Mitragyna และการพัฒนาเปนชุดตรวจสอบเอกลักษณ์ทางโมเลกลของพืช
                                                                                          ุ
               กระท่อม”
                            ๒) ศนยพิษวิทยา คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี เรอง “สารอัลคา
                                                                                      ื
                                                                                      ่
                                                               ์
                                      ์
                                    ู
                                 ่
               ลอยด์ในกระท่อมเพือพัฒนาเปนยา”
                                          ็
                            ๓) ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครนทร เรอง
                                                                                          ิ
                                                                                              ์
                                                                                                ่
                                                                    ์
                                                                                                ื
               “การพัฒนาพืชกระท่อมเพือใช้ในทางการแพทย์”
                                       ่
                                                       ู
                                                       ่
                                                    ่
                                        ั
                                          ี
                                     ้
                           นอกจากนันยงมกฎหมายทีอยในความรับผิดชอบของกรมวิชาการเกษตรจํานวน
                                                                                     ุ
                                                                                     ้
                    ั
                                                ์
                                                                               ั
                           ่
               ๒ ฉบบ ได้แก ๑) พระราชบญญัติพันธุพืช พ.ศ. ๒๕๑๘ และ ๒) พระราชบญญัติคมครองพันธุพืช
                                       ั
                                                                                                ์
               พ.ศ. ๒๕๔๒  ซึงพระราชบญญัติพันธุพืช พ.ศ. ๒๕๑๘  เป็นการบังคับใช้ตามมาตรฐานในการขอ
                                       ั
                                                ์
                             ่
                                                           ี
                                                       ิ
               ขึนทะเบยนพันธุพืชและเป็นพืชเศรษฐกจ มลักษณะคล้ายการทําบตรประชาชนพืช
                                ์
                        ี
                 ้
                                                                                  ั
                                                                                        ็
               ซึงพืชเศรษฐกจ จํานวน ๓๗ ชนิด อาทิ ข้าว ข้าวโพด ขิง ข่า ตะไคร แห้วหม เปนต้น  ส่วน
                                                                                     ู
                 ่
                                                                             ้
                            ิ
                               ุ
                                         ์
                                                            ่
               พระราชบญญัติคมครองพันธุพืช พ.ศ. ๒๕๔๒ อยูระหว่างชะลอการปรับปรุงแก้ไขมาตรา ๕๒
                        ั
                               ้
                                                                                   ่
                                                                                              ั
                                                           ้
                                                                             ั
                                ่
                                                                                        ็
               และมาตรา ๕๓ เพือดําเนินการประชาสัมพันธ์สรางความเข้าใจร่วมกน  อยางไรกตาม กญชา
                 ั
                                                                       ู
                                                                                            ้
                                         ็
                                                                                      ั
                                                                 ื
                                      ่
                                                                                            ุ
               กญชง และพืชกระท่อม ทีเปนสายพันธุในประเทศไทยถอว่าอยภายใต้พระราชบญญัติคมครอง
                                                  ์
                                                                       ่
                                                                                                ึ
               พันธุพืชด้วย แม้ว่าจะเป็นพืชทีเป็นยาเสพติดประเภท ๕ ก็ตาม  ดังนัน กรมวิชาการเกษตรจงมี
                    ์
                                          ่
                                                                            ้
                                                                                         ั
                              ั
                                   ้
                                                                              ั
               แนวคดในการปรบแกไขมาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ เพือให้สอดคล้องกบพระราชบญญัติความ
                     ิ
                                                                ่
                                                                            ี
                                          ่
               หลากหลายทางชีวภาพ แต่เนืองจากเกดแรงกระเพือมทางสังคมจึงมการชะลอการดําเนินการ
                                                  ิ
                                                             ่
                   ่
                           ่
               ไว้กอนตามทีกล่าวข้างต้น
                           ซึงบทบญญัติของมาตรา ๕๒ แห่งพระราชบญญัติคมครองพันธุพืช พ.ศ. ๒๕๔๒
                                                                         ุ
                                                                         ้
                                   ั
                                                                   ั
                             ่
                                                                                    ์
                                                                                                 ่
                                 ้
                                                                                     ่
                                                                                         ื
               มสาระสําคญว่า “ผูใดเกบ จัดหา หรอรวบรวมพันธุพืชพืนเมองทัวไป พันธุพืชปาหรอส่วนหนึง
                                     ็
                                                                                 ์
                                                                         ่
                                                                 ้
                                                                     ื
                                                             ์
                                                ื
                         ั
                 ี
                              ์
                                                            ์
               ส่วนใดของพันธุพืชดังกล่าว เพือการปรับปรุงพันธุ ศึกษา ทดลอง หรือวิจัยเพือประโยชน์ทาง
                                                                                     ่
                                           ่
               การคา จะต้องได้รบอนุญาตจากพนกงานเจ้าหน้าที และทําข้อตกลงแบงปนผลประโยชน โดยให้
                                                            ่
                                                                             ่
                               ั
                                                                               ั
                                              ั
                    ้
                                                                                            ์
                                            ั
                    ิ
                                          ่
                                                                                         ้
                                                         ์
                                                                                               ็
                                                                                 ์
               นําเงนรายได้ตามข้อตกลงแบงปนผลประโยชนส่งเข้ากองทุนคมครองพันธุพืช ทังนี ให้เปนไป
                                                                       ้
                                                                       ุ
                                                                                       ้
                                           ่
                                                  ่
                             ์
               ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงือนไขทีกําหนดในกฎกระทรวง” โดยบทบัญญัติของกฎหมาย
                                                           ์
                 ํ
                        ่
                                           ่
               กาหนดเรืองการทําข้อตกลงแบงปนผลประโยชนไว้ ส่งผลให้กฎหมายดังกล่าวเป็นอุปสรรคต่อ
                                              ั
               การวิจัยและพัฒนาสมนไพรไทยเปนอยางมาก โดยทีการดําเนินการปลกเพือประโยชน์ในทาง
                                                                                  ่
                                   ุ
                                                              ่
                                              ็
                                                                               ู
                                                   ่
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185