Page 153 - หนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา
P. 153

ความเปน นกั เลงภาษาของแมฉ ายแววอกี ครงั้ เมอ่ ไดพ บคณุ องั คาร กลั ยาณพงศ ่งเรารูจักกันมานานตั้งแตทานยังไมเปนที่รูจักเทาใดนักและยังไมไดรับการยกยอง ใหเปนศิลปนแหงชาติ ทานผูนี้มักจะมาอานบทกลอนของทาน หรอของนักเขียน เกา ใหงเสมอ คุณแมทานก็นั่งง อาปากหวอ นํ้าตาม ทานด่มดํ่าและช่นชม ไดเ ทา กบั หนมุ สาวเยาวว ยั ทา นเขา ใจและรคู า บทกวที งั้ แบบโบราณและแบบสมยั ใหม ของคุณอังคาร สมกับคําเปรียบเปรยที่วากวีกับดนตรีไมมีพรมแดน นักเลงภาษา ตองเปดใจรับงานทุกชาติทุกประเภท ความสามารถของคุณแมทําใหขาพเจา ในฐานะครู พยายามคดิ หาทางเสมอวา ทาํ อยา งไรจง จะใหเ ดก็ และครู มจี ติ ใจกวา งขวาง ยอมรับศิลปะทุกยุคทุกสมัยได บทกวีที่ไพเราะก็คอบทกวีที่ไพเราะ บทเพลงที่สูงสง อาจจะเปนเพลง ปอบ ร็อก คลาสสิก หรอโคลง ฉันท กาพย กลอน ก็ได
สิ่งที่นากลาวถงอีกอยางหน่งคอเร่องการเรียนภาษา ดวยความที่เปนชาวใต ยอมหลีกไมพนอิทธิพลของสิงคโปร มาเลเีย และอีโปร ่งเปนเมองเมองหน่งในรัฐ เประ ประเทศมาเลเีย และปนัง เราไดเรียนภาษาจีนพรอมกันทีเดียวสามภาษา แต เรียนไดแค  ปเทานั้นก็ตองหยุดเรียนเม่อยางเขาสูสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เพราะเปนยุคที่ชาตินิยมรุนแรง การเรียนภาษาจีนจงถอเปนเร่องตองหาม การเรียน ภาษาไทยของขา พเจา กผ็ า นวกิ ฤตการณเ ชน กนั ทาํ ใหส ะกดคาํ ไมแ มน ยาํ มาจนกระทงั่ บัดนี้ เชน คําวา จิต ก็มักสะกดวา จิตร เปนที่รูกันวาตัวสะกดการันตสมัยโบราณ ไมไดมีการกําหนดตายตัวเหมอนในปจจุบัน และบางคําก็สะกดแตกตางจากปจจุบัน มาถงยุคของจอมพลแปลก ทานก็ใหมีการสะกดงาย แบบบาลี เพราะฉะนั้น การสะกดแบบขอมและสนั สกฤต กถ็ กู เปลยี่ นเปน บาลี เชน ชอ่ ขา พเจา กถ็ กู ใหส ะกดวา ดุสดี ความสับสนในการสะกดเกิดข้นและเพิ่มความสับสนมากข้นเปนยุคที่สาม ในสมัยที่มีการสะสางพจนานุกรมฉบับราชบัณิต มีการชําระแลว ชําระอีก ทําให ขาพเจากลายเปนคนที่มีความสามารถในการสะกดคําหยอนยาน ไมแมนยาํ วาคําใด ใช กะ คําใดใช กระ ถงอยางไรก็ดี ความรักภาษาของขาพเจาก็มุงไปที่สํานวน ในเชงิ พรรณนาและบทบรรยายของนกั เขยี นทมี่ ชี อ่ มาแตโ บราณกาล ขา พเจา เรมิ่ เหน็ ความวิบัติของภาษาไทยหลายสิบปมาแลว ไดเริ่มคนควาศกษาจากพจนานุกรม สนใจที่จะใชถอยคําที่ปจจุบันเลิกใชหรอลมใช เชนคําวา กระเหี้ยนกระหอรอ ถลีถลํา อลี อ ยปอ ยแอ เปน ตน ขณะนขี้ า พเจา ใชพ จนานกุ รมคลงั คาํ ของ ดร.นววรรณ พนั ธเุ มธา ของราชบัณิต และของนายตํารา ณ เมองใต ขาพเจาเริ่มทําใหคําเกา เหลานี้ มีชีวิตชีวาข้นมาในบทความ ขอเขียน ตํารับตํารา แมกระทั่งเร่องแปลและนิยาย แมแตในขณะบรรยายเวลามีการอบรมทางวิชาการ
152


































































































   151   152   153   154   155