Page 18 - โครงงานคณตศาสตร 4 PDF_Neat
P. 18

สมบัติของการเลื่อนขนาน

                  1. รูปที่ไดจากการเลื่อนขนานกับรูปตนแบบเทากันทุกประการ
                  2. จดแตละจุดที่สมนัยกันบนรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานกับรูปตนแบบจะมีระยะหางเทากัน

                  3. ภายใตการเลื่อนขนาน จะไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและขนาดของรูปตนแบบ


           การบูรณาการวิชาคณิตศาสตรกับวิชาอื่น

                  แฮรบารท (Herbart : 1890) นักปรัชญาการศึกษาชาวเยอรมันเปนผูริเริ่มการเรียนการสอนแบบบูรณาการขึ้นเมื่อ
           ประมาณหนึ่งศตวรรษที่ผานมาแลว ดิวอี้ (Dewey : 1933) นักการศึกษาชาวอเมริกันเปนผูนําแนวคิดนั้นนํามาเสนอใหเปน

           รูปธรรมมากขึ้นภายใตปรัชญาที่เชื่อวา การศึกษาจะตองพัฒนาผูเรียนในลักษณะเบ็ดเสร็จในตัว มิใชพัฒนาเพียงเฉพาะเรื่อง
           ใดเรื่องหนึ่งหรือดานใดดานหนึ่งเทานั้น การดําเนินการในการนําเสนอแนวคิดของหลักสูตรและการเรียนการสอนแบบ

           บูรณาการซึ่งดิวอี้เปนผูริเริ่มนี้ไดรับการสนับสนุนจากนักการศึกษาที่มีชื่อเสียงหลายคน ในระยะเวลาตอมาเชน บรูเนอร

           (Bruner : 1986) วีกอทสกี้ (Vygotsky : 1978) และโรกอฟ (Rogoff : 1990) เปนตน (กรมวิชาการ 2539 : 3-5) นัก
           การศึกษาของไทยหลายคนอาทิ สุมิตร คุณากร (2518) สงัด อุทรานันท (2527) และ ธํารง บัวศรี (2532) ก็ไดนําหลักการ

           ในเรื่องนี้มาเผยแพรและทดลองใชมาโดยลําดับ
                  พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 กําหนดแนวทางในการจัดการศึกษาไววา การจัดการ

           ศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด ฉะนั้น

           ครูผูสอน และผูจัดการศึกษาจะตองเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเปนผูชี้นํา ผูถายทอดความรู ไปเปนผูชวยเหลือสงเสริม
           และสนับสนุนผูเรียนในการแสวงหาความรูจากสื่อและแหลงการเรียนรู และใหขอมูลที่ถูกตองแกผูเรียนเพื่อนําขอมูล

           เหลานั้นไปใชสรางสรรคความรูของตน
                  การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากจะมุงปลูกฝงดานปญญา พัฒนาการคิดของผูเรียนให

           มีความสามารถในการคิดสรางสรรค คิดอยางมีวิจารณญาณ แลวยังมุงพัฒนาความสามารถทางอารมณ โดยการปลูกฝงให

           ผูเรียนเห็นคุณคาของตนเอง เขาใจตนเอง เห็นอกเห็นใจผูอื่น สามารถแกปญหาขอขัดแยงทางอารมณไดอยางถูกตอง และ
           เหมาะสม เนื่องจากประเทศไทยและประเทศตาง ๆ ในโลกกําลังประสบปญหาทางดานสังคม เปนอยางมากโดยเฉพาะเรื่อง

           ของการขัดแยงทั้งความคิด และการกระทําของตัวบุคคล องคกร และสังคม ฉะนั้น สถานศึกษาจะตองมุงเนนการเรียนรู
           เพื่อใหเขาใจในสถานการณ หาทางแกไข โดยเฉพาะสวนที่เกี่ยวกับศาสนา และวัฒนธรรมเปนกรณีพิเศษ การเรียนรูในสาระ

           การเรียนรูตาง ๆ มีกระบวนการและวิธีการที่หลากหลาย ผูสอนตองคํานึงถึงพัฒนาการทางดานรางกาย และสติปญญา

           วิธีการเรียนรู ความสนใจ และความสามารถ ของผูเรียนเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่อง ดังนั้นการจัดการเรียนรูในแตละชวงชั้น
           ควรใชรูปแบบวิธีการที่หลากหลายเนนการเรียนการสอนตามสภาพจริง มีทั้งการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูรวมกัน การ

           เรียนรูจากธรรมชาติ การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และการเรียนรูแบบบูรณาการ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23